Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1002
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorแป้นแจ้ง, จารุวรรณ-
dc.contributor.authorPAENCHAENG, JARUWAN-
dc.date.accessioned2017-08-31T04:46:04Z-
dc.date.available2017-08-31T04:46:04Z-
dc.date.issued2560-01-10-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1002-
dc.description56252303 ; สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- จารุวรรณ แป้นแจ้งen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี 2) คุณภาพการบริการของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีและ 3) ความฉลาดทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อคุณภาพการบริการของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ให้บริการและผู้รับบริการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี รวมจำนวน 242 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความฉลาดทางอารมณ์ตามแนวคิดของโกลแมน และคุณภาพการบริการตามแนวคิดของพาราซูรามาน ไซทามและเบอรี่ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2. คุณภาพการบริการของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3. ความฉลาดทางอารมณ์ของบุคลากรส่งผลต่อคุณภาพการบริการของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีโดยภาพรวม ได้แก่ ด้านการตระหนักรู้อารมณ์ตนเอง ด้านการควบคุมตนเอง ด้านการสร้างแรงจูงใจให้กับตนเอง และด้านการมีทักษะสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 The research aimed to find 1) the emotional intelligence of the personnel 2) the personnel’s service quality, and 3) emotional intelligence affecting the personnel’s service quality of Suphanburi Primary Educational Service Area Office. The samples of the research were service providers and recipients of Suphanburi Primary Educational Service Area Office, 242 in total. The research instrument used to collect the data was a questionnaire regarding emotional intelligence, based on the concept of Goleman and service quality, based on the concept of Parasuraman, Zeithaml, and Berry. Statistics used to analyze the data were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The findings revealed that: 1. The emotional intelligence of the personnel, generally and individually, was found at a high level. 2. The personnel’s service quality of Suphanburi Primary Educational Service Area Office, generally and individually, was found at a high level. 3. The emotional intelligence: self-awareness, self-regulation, self-motivation and Social Skills; affected the personnel’s service quality of Suphanburi Primary Educational Service Area Office at .05 level of statistical significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์en_US
dc.subjectคุณภาพการบริการen_US
dc.subjectEMOTIONAL INTELLIGENCEen_US
dc.subjectSERVICE QUALITYen_US
dc.titleความฉลาดทางอารมณ์ที่ส่งผลต่อคุณภาพการบริการของบุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีen_US
dc.title.alternativeEMOTIONAL INTELLIGENCE AFFECTING THE PERSONNEL’S SERVICE QUALITY OF SUPHANBURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICEen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56252303 จารุวรรณ แป้นแจ้ง.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.