Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1065
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวจนะเสถียร, จงกล-
dc.contributor.authorWAJANASATIAN, CHONGKON-
dc.date.accessioned2017-08-31T06:22:41Z-
dc.date.available2017-08-31T06:22:41Z-
dc.date.issued2560-05-15-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1065-
dc.description55255304 ; สาขาวิชาการสอนภาษาไทย -- จงกล วจนะเสถียรen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ ซินเนคติกส์ 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซินเนคติกส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 36 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ใช้เวลาในการทดลอง 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 คาบ คาบละ 50 นาที รวมทั้งสิ้น 9 คาบ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดการเรียน การสอนรูปแบบซินเนคติกส์ จำนวน 3 แผน แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียน เชิงสร้างสรรค์ และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซินเนคติกส์ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ( x̄ ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ ซินเนคติกส์สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซินเนคติกส์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความคิดเห็นของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซินเนคติกส์ อยู่ในระดับเห็นด้วยมาก This research aimed to : 1) compare abilities of grade 3 students on creative writing before and after applications of synectics model ; and 2) study opinions of grade 3 students towards synectics model. The sample group in this research consisted of grade 3 students of La-Or Utis Demonstration School, Bangkok who studying in first semester of 2016, totaling 36 students. The simple random sampling was employed for selecting the sample group and classroom was a random unit. The researcher spent three weeks for teaching three periods per week, 50 minutes each, totaling 9 periods. In addition, the research tools were three synectics learning plans, creative writing ability pre-test before applying synectics model and post-test after applying synectics model, questionnaire about opinions of students towards synectics model. The mean (x̄), standard deviation (S.D.), t-test dependent and content analysis were applied for data analysis. The findings were as follows. 1) The creative writing ability of grade 3 students after studying through synectics model was significantly higher at the level .05 2) The students’satisfaction towards synectics model was generally at the high level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectการเขียนเชิงสร้างสรรค์en_US
dc.subjectการเรียนรู้รูปแบบซินเนคติกส์en_US
dc.subjectCREATIVE WRITINGen_US
dc.subjectSYNECTICS MODELen_US
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซินเนคติกส์en_US
dc.title.alternativeHE DEVELOPMENT OF CREATIVE WRITING ABILITY FOR GRADE 3 STUDENT TAUGHT BY USING SYNECTICS MODELen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
55255304 จงกล วจนะเสถียร.pdf7.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.