Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1109
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Woraphob TANTINANTAKUL | en |
dc.contributor | วรภพ ตันตินันทกุล | th |
dc.contributor.advisor | Naphat Thamniya | en |
dc.contributor.advisor | ณภัทร ธรรมนิยา | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts | en |
dc.date.accessioned | 2018-01-24T06:43:20Z | - |
dc.date.available | 2018-01-24T06:43:20Z | - |
dc.date.issued | 10/8/2017 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1109 | - |
dc.description | Master of Fine Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | I determined that the thesis in this project involved two presentation issues as follows 1) The struggle for the pride of original style 2)The struggle in order to feeling of the soul .These two issues controlled and created the scope of research. Furthermore, the presentation of the current thesis included two creative work in composite materials sculpture type. The aesthetic of sculpture was chosen to be tools for creativity as follows 1)the characteristics of stretching 2) the characteristics of composite picture and 3) the characteristics of semi abstract form. Moreover, they accompanied with using different materials in origins and meaning through technical management based on uniqueness of materials in order to create content of process in creative artwork. Artworks in the project were controlled under the scope of content in The struggle for Preservation of identity .Composite materials sculpture were as communicators. | en |
dc.description.abstract | ข้าพเจ้าได้กำหนดให้วิทยานิพนธ์ในโครงการนี้ประกอบไปด้วยประเด็นในการนำเสนอ 2 ประเด็น ดั้งนี้ 1. การต่อสู้ดิ้นรนเพื่อความภูมิใจในวิถีวัฒนธรรมดั้งเดิม 2.การต่อสู้เพื่อความรู้สึกทางจิตวิญญาณที่ถูกคุกคาม โดยทั้ง 2 ประเด็นนี้จะเป็นตัวควบคุมและสร้างขอบเขตของการศึกษาและการนำเสนอผลงาน ภายใต้วิทยานิพนธ์นี้ประกอบไปด้วยผลงานสร้างสรรค์ประเภทประมากรรมวัสดุผสมจำนวน 2 ชิ้นซึ่งข้าพเจ้าเลือกใช้ภาษาทางประติมากรรมมาเป็นเครื่องมือในการสร้างสรรค์ผลงานดังนี้ 1.ลักษณะของการยืดของระนาบ 2.ลักษณะของการใช้ภาพซ้อน 3.ลักษณะของการต่อประกอบกันของรูปทรง ผ่านรูปทรงกึ่งนามธรรม (Semi Abstract form) ประกอบกับการเลือกใช้วัสดุที่มีความแตกต่างกันในด้านของที่มาและความหมายผ่านการจัดการทางด้านเทคนิคที่มีความเฉพาะตัวตามลักษณะของวัสดุเพื่อสร้างเนื้อหาของกระบวนการในงานสร้างสรรค์ขึ้น ผลงานสร้างสรรค์ในโครงการนี้ถูกควบคุมภายใต้ขอบเขตของเนื้อหาที่ว่าด้วยการ ต่อสู้ ดิ้นรนเพื่อ ดำรงไว้ซึ่งวิถี ดั้งเดิมของชาวเล ต่อสภาพความเป็นไปในสังคมปัจจุบันผ่านผลงานประติมากรรม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การต่อสู้ดิ้นรนเพื่อดำรงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ | th |
dc.subject | The Struggle for Preservation of Identity. | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | The Struggle for Preservation of Identity. | en |
dc.title | การต่อสู้ดิ้นรนเพื่อดำรงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
55002207.pdf | 4.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.