Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChakraphun SUEBSANen
dc.contributorจักรพันธ์ สืบแสนth
dc.contributor.advisorPISHNU SUPARNIMITen
dc.contributor.advisorพิษณุ ศุภนิมิตรth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Artsen
dc.date.accessioned2018-12-14T01:25:21Z-
dc.date.available2018-12-14T01:25:21Z-
dc.date.issued2/1/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1270-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis creative research on mixed media art was aimed [1] to integrate various branches of knowledge to a new innovation in fine arts, [2] to develop the holistic knowledge into a creation of mixed media and interactive artworks, [3] to illustrate the content of human’s desire through mixed media art with interactive multimedia technology. The methods included interdisciplinary concepts, namely, metamorphosis, the idea of cycle of existence, tessellation, Möbius strip concept, and the principles of three-dimensional computer animation. Additionally, the samples of selected M.C. Escher’s artworks were analyzed to find the links between concepts to develop and apply motion sensor technology in the artworks. The result shows that the holistic knowledge can create an invention of mixed media art by techniques of three-dimensional computer animation visualizing thousands of cubes in the forms of a human’s head and a maze room. These artworks represent the endless desire of humans via the round symbol which revolves around, rotates clockwise and counterclockwise. The idea was developed into the interactive artworks by utilizing motion sensor and computer program. Rotating and twisting these small cubes, participants can control and interact with the artworks.en
dc.description.abstractการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะสื่อผสมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. บูรณาการองค์ความรู้จากศาสตร์แขนงต่าง ๆ ให้เกิดเป็นนวัตกรรมใหม่ด้านศิลปะ 2. นำองค์ความรู้ที่ได้จากการบูรณาศาสตร์แขนงต่าง ๆ มาสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะสื่อผสมและให้ผู้รับชมมีส่วนร่วมในการปฏิสัมพันธ์ 3. นำเสนอประเด็นเนื้อหาความต้องการของมนุษย์ด้วยการนำเสนอผ่านศิลปะสื่อผสมและเทคโนโลยีมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์ วิธีสร้างสรรค์ผลงานด้วยการบรูณาการแนวคิดจากศาสตร์แขนงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเข้าไว้ด้วยกัน อันได้แก่ แนวคิดการเปลี่ยนแปลงรูปทรง (Metamorphosis) แนวคิดวัฏสงสาร แนวคิดเทสเซลเลชั่น (Tessellation) แนวคิดแถบเมอบิอุส (Möbius Strip) หลักการคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น 3 มิติ รวมถึงคัดเลือกตัวอย่างผลงานศิลปินแอ็ชเชอร์และนำมาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเพื่อนำไปสู่การพัฒนาผลงานศิลปะและประยุกต์ใช้ร่วมกับเทคโนโลยีตรวจจับการเคลื่อนไหว (Motion Sensor) ผลการสร้างสรรค์พบการบูรณาการองค์ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ สามารถสร้างนวัตกรรมในด้านศิลปะสื่อผสมรูปแบบใหม่ได้ ด้วยเทคนิคคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น 3 มิติ ที่จำลองกล่องสี่เหลี่ยมด้านเท่าจำนวนหลายพันกล่องมาเรียงร้อยต่อกันเป็นรูปทรงศีรษะมนุษย์และห้องรูปแบบเขาวงกต โดยมีประเด็นเนื้อหาที่สื่อถึงความต้องการอันไม่สิ้นสุดของมนุษย์ด้วยการใช้สัญลักษณ์วงกลมที่มีรูปแบบการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบตัวเอง หมุนทวนและตามเข็มนาฬิกามาพัฒนาเป็นรูปแบบการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกับผลงานผ่านอุปกรณ์ตรวจจับการเคลื่อนไหวและคอมพิวเตอร์ โดยผู้รับชมผลงานสามารถควบคุมและโต้ตอบกับผลงานด้วยวิธีการบิดและหมุน th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์th
dc.subjectทางออกเขาวงกตth
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงรูปทรงth
dc.subjectเทสเซลเลชั่นth
dc.subjectแถบเมอบิอุสth
dc.subjectInteractive Multimediaen
dc.subjectMaze Exiten
dc.subjectMetamorphosisen
dc.subjectTessellationen
dc.subjectMobius Stripen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleInteractive Multimedia: Maze Exiten
dc.titleมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์: ทางออกของเขาวงกตth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58007802.pdf13.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.