Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1275
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPrapaipuk NIAMRATen
dc.contributorประไพพักตร์ เนียมรัตน์th
dc.contributor.advisorThanarit Thaipwareeen
dc.contributor.advisorธณฤษภ์ ทิพย์วารีth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Artsen
dc.date.accessioned2018-12-14T01:25:22Z-
dc.date.available2018-12-14T01:25:22Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1275-
dc.descriptionMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.descriptionศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)th
dc.description.abstractDepressive disorder and bipolar disorder are psychological illnesses which are usually overlooked or misunderstood due to the lack of knowledge of many people, who perceive these disorders as normal depression.  When I Iook back to the time I encountered problems from my depressive episodes, there were so many times I felt too bad to let negative thoughts and feelings go away as usual. Every time I was too bored and too tired to wake up in the morning to silence, without a thought in my head but the feeling: "Can there be no tomorrow?". Those feelings were more than sorrow and sadness.  During my treatment at the psychological ward at Siriraj Hospital, I met patients who experienced the same symptoms, many of which were interested in art, so we talked and exchanged our opinions about our conditions.  The paintings are based on our conversations in the hope that normal people will get to understand us better. I also hope that they will come to see the world other patients and I see through my art as well.    en
dc.description.abstractโลกซึมเศร้าและไบโพลาร์คือโรคทางจิตเวชอย่างหนึ่งในสังคมไทยที่ถูกมองข้ามและเข้าใจผิดเสมอเนื่องจากประชาชนโดยส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ ความเข้าใจ และคิดว่าเป็นเพียงอาการเศร้าเสียใจตามปกติ เมื่อข้าพเจ้ามองย้อนกลับไปถึงช่วงเวลาที่เคยประสบกับปัญหาจากภาวะซึมเศร้าของโรคที่เป็น หลายครั้งข้าพเจ้ารู้สึกย่ำแย่จนไม่สามารถปล่อยวางอะไรได้ดังเช่นปกติที่ผ่านมา ทุกครั้งข้าพเจ้าเองก็เบื่อและรู้สึกเหนื่อยเหลือเกินกับการตื่นนอนในยามเช้าพร้อมกับความรู้สึก ‘ไม่มีวันพรุ่งนี้ได้อีกหรือเปล่า’ สิ่งเหล่านี้เป็นความรู้สึกที่มีมากกว่าความเศร้าและความเสียใจ จากการรักษาที่แผนกจิตเวช โรงพยาบาลศิริราช ทำให้ได้มีโอกาสพบกับผู้ป่วยที่มีอาการเช่นเดียวกัน ในหลายรายมีความสนใจในงานศิลปะ จึงได้เกิดการพูดคุย แลกเปลี่ยนทัศนะมุมมองของสภาวะอาการเหล่านี้  ข้าพเจ้าได้นำบทสนทนา นำมาวาดเป็นผลงานเพื่อให้คนปกติเข้าใจพวกเรามากยิ่งขึ้น และข้าพเจ้าหวังว่าพวกเขาจะมองเห็นโลกของข้าพเจ้าและผู้ป่วยคนอื่นผ่านงานศิลปะของข้าพเจ้าด้วยเช่นกันโลกซึมเศร้าและไบโพลาร์คือโรคทางจิตเวชอย่างหนึ่งในสังคมไทยที่ถูกมองข้ามและเข้าใจผิดเสมอเนื่องจากประชาชนโดยส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ ความเข้าใจ และคิดว่าเป็นเพียงอาการเศร้าเสียใจตามปกติ เมื่อข้าพเจ้ามองย้อนกลับไปถึงช่วงเวลาที่เคยประสบกับปัญหาจากภาวะซึมเศร้าของโรคที่เป็น หลายครั้งข้าพเจ้ารู้สึกย่ำแย่จนไม่สามารถปล่อยวางอะไรได้ดังเช่นปกติที่ผ่านมา ทุกครั้งข้าพเจ้าเองก็เบื่อและรู้สึกเหนื่อยเหลือเกินกับการตื่นนอนในยามเช้าพร้อมกับความรู้สึก ‘ไม่มีวันพรุ่งนี้ได้อีกหรือเปล่า’ สิ่งเหล่านี้เป็นความรู้สึกที่มีมากกว่าความเศร้าและความเสียใจ  จากการรักษาที่แผนกจิตเวช โรงพยาบาลศิริราช ทำให้ได้มีโอกาสพบกับผู้ป่วยที่มีอาการเช่นเดียวกัน ในหลายรายมีความสนใจในงานศิลปะ จึงได้เกิดการพูดคุย แลกเปลี่ยนทัศนะมุมมองของสภาวะอาการเหล่านี้ ข้าพเจ้าได้นำบทสนทนา นำมาวาดเป็นผลงานเพื่อให้คนปกติเข้าใจพวกเรามากยิ่งขึ้น และข้าพเจ้าหวังว่าพวกเขาจะมองเห็นโลกของข้าพเจ้าและผู้ป่วยคนอื่นผ่านงานศิลปะของข้าพเจ้าด้วยเช่นกันth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectโรคซึมเศร้าth
dc.subjectโรคอารมณ์สองขั้วth
dc.subjectไบโพล่าร์th
dc.subjectจิตเวชth
dc.subjectศิลปะบำบัดth
dc.subjectDepression Disorderen
dc.subjectBipolar Disorderen
dc.subjectPsychiatryen
dc.subjectArt Therapyen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleDepression Worlden
dc.titleโลกซึมเศร้าth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59001201.pdf8.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.