Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNucha SRASOMen
dc.contributorนุชา สระสมth
dc.contributor.advisorSangaun Inraken
dc.contributor.advisorสงวน อินทร์รักษ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:38:57Z-
dc.date.available2018-12-14T02:38:57Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1391-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to determine the characteristic of the participatory on “Ban Wat Rongrean management” of Buddhist monastic school under the Bangkok Metropolitan Administration, This research was a qualitative research. The methodology used for this research were selected case study “Wat Phra-In Song Chang Erawan School”, hypothesis setting, multiple data collection, data validation, data analysis and research report. The research finding were as follows : The participatory on “Ban Wat Rongrean management” of Buddhist monastic school under the Bangkok Metropolitan Administration consisted 5 characteristics 1) Participation in decision-making based on seniority 2) Participation in planning by honoring spacious person 3) Participation in practicing based on religious beliefs 4) Participation in associate benefit 5) Participation in follow up and friendly evaluation. The success of the participatory on “Ban Wat Rongrean management” of Buddhist monastic school under the Bangkok Metropolitan Administration were 1)The participatory on “Ban Wat Rongrean management” of Wat Phra-In Song Chang Erawan School was based on School Standard and passed the BMA’s Educational Quality Assurance; students , education management, learning society and identity of school 2)The participatory on “Ban Wat Rongrean management” of Wat Phra-In Song Chang Erawan School was as community expectations.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อทราบลักษณะการมีส่วนร่วมใน “การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน” ของโรงเรียนวัด สังกัดกรุงเทพมหานคร เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวิธีดำเนินการวิจัยดังนี้ การเลือกกรณีศึกษา การศึกษาการมีส่วนร่วมใน “การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน” ของโรงเรียนวัดพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ การตั้งสมมติฐานระหว่างวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยพหุวิธีการ การตรวจสอบข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการรายงานผลการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะการมีส่วนร่วมใน “การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน” ของโรงเรียนวัดพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ ซึ่งเป็นโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร มี 5 ลักษณะ 1) การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจโดยยึดหลักความอาวุโส 2) การมีส่วนร่วมในการวางแผนการดำเนินงานโดยให้เกียรติผู้ที่มีบารมีหรือผู้ที่ได้รับการยอมรับจากคนส่วนใหญ่ 3) การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติและดำเนินการตามความเชื่อและความศรัทธาในพระพุทธศาสนา 4) การมีส่วนร่วมในการประสานประโยชน์ร่วมกัน 5) การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลแบบกัลยาณมิตร โดยมีผลความสำเร็จของการมีส่วนร่วมใน “การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน” ของโรงเรียนวัด สังกัดกรุงเทพมหานคร คือ 1) การส่วนร่วมใน “การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน” ของโรงเรียนวัดพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน คือ โรงเรียนจัดการศึกษาได้มาตรฐาน ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร ดังนี้ ด้านนักเรียน ด้านการจัดการศึกษา ด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และด้านอัตลักษณ์ของสถานศึกษา 2) การมีส่วนร่วมใน “การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน” ของโรงเรียนวัดพระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ เป็นไปตามความคาดหวังของชุมชนth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการมิส่วนร่วมใน "การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน"th
dc.subjectPARTICIPATION OF "BAN WAT RONGREAN MANAGE"en
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleThe Participatory on “Ban Wat Rongrean Management” of Buddhist monastic School Under the Bangkok Metropolitan Administrationen
dc.titleการมีส่วนร่วมใน "การบริหารแบบบ้าน วัด โรงเรียน" ของโรงเรียนวัด สังกัดกรุงเทพมหานครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56252806.pdf8.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.