Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1400
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKaratphet KHONGRODen
dc.contributorกะรัตเพชร คงรอดth
dc.contributor.advisorPatteera Thienpermpoolen
dc.contributor.advisorภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:38:58Z-
dc.date.available2018-12-14T02:38:58Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1400-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to investigate: 1) the lexical errors in the English academic writing of Thai undergraduates; 2) the relationship between English Academic Writing and majors of study; and 3) the development of writing teaching especially the words used in English for Academic Purposes course. The research sample was fifty-two-sophomore students of the Faculty of Education, Silpakorn University. There were 25 students from English major and 27 students from other majors. The research instruments were: 1) a Thai Students Learner Corpus consisting of two topics of English academic writing; 2) a record form of lexical errors in English academic writing; and 3) a semi structured interview of English for Academic Purposes’ instructors.  The data were analyzed by frequency, percentage, and a Chi-square test. The results of the study showed that there were 13 types of lexical error classification. It was found that 1) L1 transfer error (31.89%) was the most committed one, followed by preposition partners (19.46%), suffix error (16.49%), and misselection error was the least error committed by students. The lexical errors in the writings of other majors’ students were higher than English major’s students. 2) The hypothesis testing revealed that the lexical errors in English Academic Writing statistically significant related to majors of study at 0.05 level. 3) According to the interview, it can be concluded that using words properly will be beneficial for communication. It was recommended that the learners and the instructors must collaborate to solve the problem. Students need to be more enthusiastic such as attempting to identify the lexical errors and to read related articles themselves. Similarly, instructors should support the learners as much as possible such as teaching the reading along with teaching writing, so that reading articles can be the sample for students to compose their own particular works, and they can learn the essential vocabulary that related to the writing topics. Besides, teaching the use of dictionaries can help students understand the functions of the words and the examples in various contexts.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้ข้อผิดพลาดด้านการใช้คำที่ใช้ในงานเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของนักศึกษา 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คำที่ใช้ในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ กับสาขาวิชาของผู้เรียน และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนการเขียนในด้านการใช้คำในรายวิชาภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ กลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเป็นนักศึกษาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ จำนวน 25 คน และในสาขาวิชาอื่นๆ จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) คลังข้อมูลภาษาของนักศึกษาไทย โดยเป็นงานเขียนเชิงวิชาการของนักศึกษาจำนวน 2 หัวข้อ 2) ตารางบันทึกการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านการใช้คำของนักศึกษา และ 3) แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้างของอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อวิชาการ ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ การทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ไคสแควร์ (Chi – Square) ผลการวิจัย พบว่า 1) มีข้อผิดพลาดด้านการใช้คำในงานเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งหมด 13 ประเภท ซึ่งข้อผิดพลาดที่มีจำนวนมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการถ่ายโอนภาษาจากภาษาแม่ (L1 Transfer) คิดเป็นร้อยละ 31.89 การใช้คำบุพบทที่ไม่เหมาะสม (Preposition) คิดเป็นร้อยละ 19.46 และข้อผิดพลาดด้านรูปแบบการใช้ปัจจัย (Suffix) คิดเป็นร้อยละ 16.49 ตามลำดับ ส่วนข้อผิดพลาดที่พบน้อยที่สุดคือ ข้อผิดพลาดด้านการเลือกตัวสะกดผิด (Misselection) คิดเป็นร้อยละ 0.54 โดยพบว่าข้อผิดพลาดในงานเขียนของนักศึกษาในสาขาวิชาอื่นๆ เกิดขึ้นสูงกว่าข้อผิดพลาดในงานเขียนของนักศึกษาในสาขาวิชาภาษาอังกฤษ 2) ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าข้อผิดพลาดด้านการใช้คำกับสาขาวิชาของผู้เรียนมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) จากการสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอนเพื่อหาแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนการเขียนด้านการใช้คำ การเลือกใช้คำที่ถูกต้องจะเป็นประโยชน์ต่อการสื่อสารของผู้เรียน  ดังนั้นผู้เรียนและผู้สอนจะต้องให้ความร่วมมือกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยผู้เรียนควรศึกษาค้นคว้าเบื้องต้นเพิ่มเติมด้วยตัวเอง เช่น การฝึกแก้ไขข้อผิดพลาดในงานเขียนด้วยตนเอง การอ่านบทความที่เกี่ยวเนื่องกับงานเขียน เป็นต้น และผู้สอนควรสนับสนุนผู้เรียนให้มีการเลือกใช้คำให้ได้อย่างถูกต้อง เช่น การสอนการอ่านควบคู่กับการสอนการเขียนเพื่อให้ผู้เรียนมีต้นแบบในการเขียนและเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้คำศัพท์ที่เกี่ยวเนื่องกับงานเขียนจากบทอ่าน และการสอนการใช้พจนานุกรมเพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นหน้าที่ของคำ และเห็นตัวอย่างการใช้คำในบริบทที่ต่างๆ เพื่อเป็นต้นแบบให้ผู้เรียนเลือกใช้คำศัพท์ได้อย่างถูกต้องth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectข้อผิดพลาดด้านคำศัพท์th
dc.subjectการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการth
dc.subjectคลังข้อมูลภาษาth
dc.subjectlexical errorsen
dc.subjectEnglish academic writingen
dc.subjectlearner corpusen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleAn Analysis of Lexical Errors in the English Academic Writing of Thai Undergraduatesen
dc.titleการวิเคราะห์ข้อผิดพลาดด้านการใช้คำในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของนักศึกษาไทยระดับปริญญาตรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56254201.pdf2.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.