Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1408
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSathiraporn RAGSAKAMBHIRAen
dc.contributorสถิรพร รักษ์คัมภีร์th
dc.contributor.advisorPatteera Thienpermpoolen
dc.contributor.advisorภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:38:59Z-
dc.date.available2018-12-14T02:38:59Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1408-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe objectives of this study were to: 1) compare English reading comprehension skills of first-year students before and after being taught by using QAR and 2) study the students’ opinions towards QAR. The sample of this research was 30 first-year students of Silpakorn University, NakhonPathom province. The research instruments were 1) lesson plans, 2) a reading comprehension skills test and a questionnaire used to study the students’ opinions toward using QAR. The data were analyzed by mean, standard deviation, and t-test. The findings were as follows: 1) English reading comprehension skills of first-year students after using QAR were significantly higher than before at the .05 level. 2) The students’ overall opinion toward QAR was at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ ก่อนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้ QAR กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1)แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้ QAR 2) แบบทดสอบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีผลต่อการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจโดยใช้ QAR สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ t-test แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้ QAR หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้ QARโดยรวมอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษth
dc.subjectการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจth
dc.subjectโดยใช้QARth
dc.subjectDEVELOPMENT OF ENGLISH READINGen
dc.subjectREADING COMPREHENSION SKILLSen
dc.subjectQUESTION-ANSWER-RELATIONSHIPSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleDEVELOPMENT OF ENGLISH READING COMPREHENSION SKILLS USING QAR FOR FIRST-YEAR STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ โดยใช้QAR สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56254323.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.