Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1422
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nittaya WISISRATTANAKUL | en |
dc.contributor | นิตยา วิศิษฏ์รัตนกุล | th |
dc.contributor.advisor | Eknarin Bangthamai | en |
dc.contributor.advisor | เอกนฤน บางท่าไม้ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2018-12-14T02:39:01Z | - |
dc.date.available | 2018-12-14T02:39:01Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1422 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | This research aims to study as followed: 1.The current state of public relations and image of Banpong Community Development District Office, Ratchaburi Province. 2. Building Guidelines for public relations toward improving image of Banpong Community Development District Office,and evaluation. The research method consists of 2 major steps: 1) Study the current state of public relations. 2) Study from specialists’ opinions on public relations to enhance the image of Banpong Community Development District Office,and evaluate.The tools used in this research were questionnaire, structured questionnaire, practicable form of public relations and evaluation form of practicable public relations. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation and frequency. The research shows : 1. The sample had opinions about the public relations condition and the image of Banpong Community Development District Office. It was found that the implementation of the objectives had the highest score (x̄= 4.00,S.D.=0.77), followed by management(x̄ = 3.89, SD = 0.86) and image (x̄ = 3.46, SD = 0.70) respectively. 2. From the results of interviews on experts of public relations, it was found that the practicable public relations guidlines was that the organization had to plan communication in the right way and publicize by using knowledge management to create concept and application of tools modernly. 3. Guidlines for Public relations to enhance the image of Banpong Community Development District Office consists of 6 elements. 1) Chief of Community Development District Office. 2) Officer of Community Development District Office 3) Service mind 4) Policy of Organization 5) Tools. 5 procedures. 1) Study the problem, obstacle, need and condition of public relations. 2) Encourage practicable operation of Banpong Community Development District Office as higher as it could be. 3) Create a brand of organization. 4) Develop cooperative public relations procedure. 5) Evaluate, the result of public relations practicability evaluation by public relations experts shows that developed form is practicable. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1. ศึกษาสภาพการประชาสัมพันธ์และภาพลักษณ์ในปัจจุบันของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 2. สร้างและประเมินแนวทางการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กรของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสภาพการประชาสัมพันธ์ของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 2) ผลการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แนวทางการประชาสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความถี่ ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการประชาสัมพันธ์และภาพลักษณ์ของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความคิดเห็นว่าได้ดำเนินการด้านวัตถุประสงค์มากที่สุด (x̄= 4.00,S.D.=0.77) รองลงมาคือด้านการบริหารงาน (x̄= 3.89,S.D.=0.86) และด้านภาพลักษณ์ (x̄= 3.46,S.D.=0.70) ตามลำดับ ผลการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการประชาสัมพันธ์ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องกันว่าแนวทางการประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสม คือ องค์กรต้องมีการวางแผนการสื่อสาร และมีการประชาสัมพันธ์โดยอาศัยการบริหารจัดการความรู้เพื่อสร้างแนวคิดและการประยุกต์ใช้เครื่องมือให้ทันสมัย และผู้บริหารควรส่งเสริมสนับสนุน และให้ความสำคัญกับการประชาสัมพันธ์เชิงรุก แนวทางการประชาสัมพันธ์ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) พัฒนาการอำเภอ 2) พัฒนากร 3) การให้บริการตามภารกิจขององค์กร 4) นโยบายการดำเนินงาน 5) กิจกรรมร่วมกับภาคีการพัฒนา 6) อุปกรณ์/เครื่องมือ และมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 ศึกษาปัญหาอุปสรรค ความต้องการ และสภาพการประชาสัมพันธ์ ขั้นที่ 2 การส่งเสริมสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรีให้มีสมรรถนะสูง ขั้นที่ 3 การสร้างแบรนด์สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ขั้นที่ 4 การพัฒนากระบวนการประชาสัมพันธ์แบบมีส่วนร่วม ขั้นที่ 5 การประเมินผลการประชาสัมพันธ์ ซึ่งผลการประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและแนวทางการประชาสัมพันธ์โดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่ามีความเหมาะสม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การประชาสัมพันธ์ | th |
dc.subject | ภาพลักษณ์ | th |
dc.subject | PUBLIC RELATIONSIONS | en |
dc.subject | IMAGE | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Guidelines For Public Relations Toward Improving of Organizational Image of Banpong Community Development District Office, Ratchaburi Province. | en |
dc.title | แนวทางการประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์องค์กรของสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี | th |
dc.type | Master's Report | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
56257314.pdf | 3.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.