Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1431
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAlongkorn AUPETen
dc.contributorอลงกรณ์ อู่เพ็ชรth
dc.contributor.advisorSitthichai Laisemaen
dc.contributor.advisorสิทธิชัย ลายเสมาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:02Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:02Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1431-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to develop the blended lesson which on the group work ability in The Career and Technology 4 of Matthayom Suksa 5 students 2) to compare students’ pretest and posttest learning achievement after having the blended collaborative learning on the group work ability in The Career and Technology 4 of Matthayom Suksa 5 students 3) to study the group work ability after having the blended collaborative learning on the group work ability in The Career and Technology 4 of Matthayom Suksa 5 students 4) to study the satisfaction of students on the blended collaborative learning on the group work ability in The Career and Technology 4 of Matthayom Suksa 5 students. The sample group of this study consisted of 30 students studying in The Career and Technology 4 of Matthayom Suksa 5 students, semester 1/2561 in King’s College from the sample random within ten weeks. The instruments of the research were 1) the structured interview form 2) the lesson plans 3) the blended lesson using the collaborative learning on the group work ability in The Career and Technology 4 4) the achievement test 5) the ability assessment form of the group work 6) the questionnaire on students’ satisfaction on the blended lesson in The Career and Technology 4. The data were the mean, percentage, standard deviation and t-test dependent. The results of the research were 1) the blended lessons’ efficacy using the collaborative learning on the group work ability in The Career and Technology 4 were 83.33/81.25 which had efficacy higher than criteria setting 80/8o 2) the result of the compare the students’ learning achievement after the blended collaborative learning on the group work ability at 0.1 level of significance 3) the ability of the group work after the blended collaborative learning on the group work ability in The Career and Technology 4 of Matthayom Suksa 5 students indicated the students’ the work group ability was good level with the mean = 14.40, S.D. = 0.19 4) the students’ satisfaction on the blended lesson in The Career and Technology 4 indicated the students’ satisfaction was more level with the mean = 4.54, S.D. = 0.58en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนแบบผสมผสานที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียน ที่เรียนด้วยการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการทำงานกลุ่ม หลังการจัดการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานมีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ภ.ป.ร.ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่กำลังศึกษาวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 30 คน จากการสุ่มอย่างง่าย ระยะเวลาในการทดลอง 10 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) บทเรียนแบบผสมผสานด้วยวิธีการเรียนรู้ร่วมกันที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 4) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) แบบประเมินความสามารถในการทำงานกลุ่ม 6) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนแบบผสมผสาน วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติทดสอบ ค่าที (t-test แบบ Dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของบทเรียนแบบผสมผสาน ด้วยวิธีการเรียนรู้ร่วมกันที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 เท่ากับ 83.33/81.25 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสาน ที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ความสามารถในการทำงานกลุ่ม หลังการจัดการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนมีความสามารถในการทำงานกลุ่มอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 14.40 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.19) 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนแบบผสมผสาน วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.54 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.58)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการเรียนการสอนแบบผสมผสาน/การเรียนรู้ร่วมกัน/ความสามารถในการทำงานกลุ่มth
dc.subjectBLENDED COLLABORATIVE LEARNING/COLLABORATIVE LEARNING/GROUP WORK ABILITYen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleEFFECTS OF COLLABORATIVE BLENDED LEARNING IN GROUP WORK ABILITY CAREER AND TECHNOLOGY 4 SUBJECT FOR MATHAYOMSUKSA 5 STUDENTSen
dc.titleผลการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานที่มีต่อความสามารถในการทำงานกลุ่ม วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56257339.pdf4.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.