Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1510
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Niphon PARA | en |
dc.contributor | นิพนธ์ พารา | th |
dc.contributor.advisor | Siwanit Autthawuttikul | en |
dc.contributor.advisor | ศิวนิต อรรถวุฒิกุล | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2018-12-14T02:39:15Z | - |
dc.date.available | 2018-12-14T02:39:15Z | - |
dc.date.issued | 17/8/2018 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1510 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research 1) To study Collaborative learning behavior through social networks to promote energy efficiency. Of educational personnel Office of the President Srinakharinwirot University. 2) To evaluate the design of the energy efficiency campaign in the organization. 3) To study the opinions on the Collaborative learning process through social networking. The samples used in this study were the educational personnel. Office of the President The research tools consisted of 1) a questionnaire about the development of the learning process, 2) the co-learning process, 3) Social learning behavior assessment model through online social network. 4)Designing the media for energy efficiency campaign in the organization. 5) Questionnaire on the learning process through social networking. Data were analyzed by percentage, mean and standard deviation. The research findings indicated that: 1. Collaborative learning behavior through social networks. The learning behavior was at a high level (Mean= 3.93, S.D. = 0.62). Understanding or developing Contributing And the knowledge. Understanding and exchanging learning The learning behaviors were at a high level, respectively. 2. The results of the media design evaluation for effective energy efficiency in the organization found that the media production of 23 person was good (Mean = 22.71). The average number of individual works was found to be 8 people. The results of the quality assessment were moderate. In addition, 15 person had good quality. 3. Comments on the Collaborative learning process that the opinions on the learning process together. The level of opinion was at the high level (Mean= 4.17, S.D. = 0.58). The cooperation of members and the knowledge gained from the process. And the process of learning together. The level of opinion was high. Department of Educational Technology Graduate School, Silpakorn University. Student Signature .......................................................... Academic year 2017 Signature of Advisors ..................................................... | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อรณรงค์การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2) เพื่อประเมินผลงานการออกแบบสื่อรณรงค์การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในองค์กร 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ บุคลากรทางการศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 23 คน ได้มาโดยวิธีการอาสาสมัคร (Volunteer) ระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน 2) แบบประเมินกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 3) แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ 4) แบบประเมินผลงานการออกแบบสื่อเพื่อรณรงค์การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในองค์กร 5) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (Mean) และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ผลวิจัยพบว่า 1. พฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันอยู่ในระดับมาก (Mean= 3.93 , S.D.= 0.62) และค่าเฉลี่ยรายด้าน พบว่า ด้านการออกแบบชิ้นงาน ความเข้าใจหรือพัฒนา ด้านการมีส่วน และด้านความรู้ ความเข้าใจและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2. ผลคะแนนจากแบบประเมินผลงานการออกแบบสื่อเพื่อรณรงค์การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในองค์กร พบว่า ผลงานการสร้างสื่อของกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 23 คน มีคุณภาพอยู่ในระดับดี (Mean= 22.71) และเมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยของผลงานรายบุคคล พบว่า มีจำนวน 8 คน ที่ผลการประเมินคุณภาพอยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนั้น จำนวน 15 คน ผลงานมีคุณภาพอยู่ในระดับดี 3. ความคิดเห็นที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน พบว่า ความคิดเห็นที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ( Mean= 4.17 , S.D.= 0.58) และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นรายด้าน พบว่า ด้านเครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการจัดกิจกรรม ด้านความร่วมมือของสมาชิกและองค์ความรู้ที่ได้จากกระบวนการ และด้านกระบวนการการจัดกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกัน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา 2560 ลายมือชื่อนักศึกษา..................................................................... ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา........................................................ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | พฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน | th |
dc.subject | การเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ | th |
dc.subject | Cooperative Learning | en |
dc.subject | Learning through Online social networks | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | STUDY OF COLLABORATIVE LEARNING BEHAVIOR THROUGH ONLINE SOCIAL NETWORKS FOR ENERGY EFFICIENT CAMPAIGN OFFICE OF THE PRESIDENT SRINAKHARINWIROT UNIVERSITY | en |
dc.title | การศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ร่วมกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อรณรงค์การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ของบุคลากรทางการศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58257402.pdf | 7.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.