Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1516
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSunaree SRIBOONen
dc.contributorสุนารี ศรีบุญth
dc.contributor.advisorWISUD PO NEGRNen
dc.contributor.advisorวิสูตร โพธิ์เงินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:39:16Z-
dc.date.available2018-12-14T02:39:16Z-
dc.date.issued2/1/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1516-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe research purpose were 1) To compare student’s mathematical skills before and after learning through Conceptual STEAM Education Integrated Problem - Based Learning (PBL), 2) To study mathematical skills and processes of students after learning Conceptual STEAM Education Integrated Problem – Based Learning (PBL), and. 3) To study the satisfaction of the students after learning through Conceptual STEAM Education Integrated Problem - Based Learning (PBL)The sample group in this research comprised 30 Mathayom 1/1 students in the Danthaptakoratuppatham School who were studying in the 2nd semester of B.E.2560. The research tools including 1) learning management plans, 2) achievement test, 3) a behavior observation form and 4)    a questionnaire surveyed of student’s opinions toward the Conceptual STEAM Education Integrated Problem - Based Learning (PBL). The mean, standard deviation (S.D.) and test (t-test) were applied for data analysis. The research summary as follows. 1) The student’s mathematical skills after learning through Conceptual STEAM Education Integrated Problem - Based Learning (PBL) were significantly higher than those before studying at the .05 level. 2) The student’s behaviors about mathematical skills and processes were positive at a high level. 3) The student’s opinions toward the learning through Conceptual STEAM Education Integrated Problem - Based Learning (PBL) were positive at a high level. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 2) เพื่อศึกษาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการจัดการเรียนรู้  ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน  กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 ของโรงเรียนด่านทับตะโกราษฎร์อุปถัมภ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 30 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประยุกต์ 2  2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประยุกต์ 2  3) แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 4)แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าคะแนนเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบค่าที (t-test)  แบบ Dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน อยู่ในระดับสูง 3) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน อยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectSTEAM Educationth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์th
dc.subjectSTEAM EDUCATIONen
dc.subjectPROBLEM BASED LEARNINGen
dc.subjectMATHEMATICAL SKILLS AND PROCESSESen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.titleThe Learning Outcome of STEAM Education based on Problem  Based Learning to Developing  Mathematical Skills  and Process for Seventh Grade Studentsen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEAM Education โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58263311.pdf7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.