Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1634
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiriporn THITALAMPOONen
dc.contributorสิริพร ฑิตะลำพูนth
dc.contributor.advisorATTAMA BOONPALITen
dc.contributor.advisorอัฏฐมา บุญปาลิตth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:57:55Z-
dc.date.available2018-12-14T02:57:55Z-
dc.date.issued2/1/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1634-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThis research aimed to study factor effecting the development of an appropriate organizational citizenship behavior (OCB) of employees working in big retailers of construction materials in Bangkok and perimeter mixed-method methodology. By applying a qualitative method on In-depth Interview and quantitative research method with Confirmatory Factor Analysis (CFA) which used questionnaire by purpose sampling with different levels of employees working in retailers of construction materials of 6 shops, Homepro, Homeworks, Thai Watsadu, Boonthavorn, Dohome and Global House. This research used a specific sampling with 4 levels of employees in the organization, including top-level managers, middle-level managers, first-level managers and operational level. The samples of this research were 600 employees to analyze used the Relative Chi-square and the Second Confirmatory Factor Analysis desirable behavior of employees and then use the Soft System Methodology to develop the framework. The findings of the research were found Chi-Square (χ2) value = 37.04 with statistical significance at p-value of 0.14 and Relative Chi-square χ2/df = 1.88, Comparative of fit index (CFI) = 0.99, Goodness of fit index (GFI = 0.98), Adjusted goodness of fit index : AGFI = 0.97 and Root mean square error of approximation (RMSEA = 0.022). All values met the criteria and revealed that an appropriate organizational citizenship behavior consists of 4 elements sorted as follows: Satisfaction in Work Life (Sat = 0.95), Organization Commitment (Com = 0.93) Organization Justice (Jus = 0.92) and Organization Image (Ima = 0.91). The results of this research can be applied for organization development process and human resources management and development through the enhancement of organizational commitment, leadership style and organizational climate for increasing organizational citizenship behavior in order to organization effectiveness.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยความสอดคล้องของตัวแบบพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของพนักงานร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างรายใหญ่ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พัฒนาขึ้นตามแนวคิดทฤษฎีมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงกับพนักงาน 4 ระดับในองค์กร ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้นและพนักงานระดับปฏิบัติการ และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จาก ผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องโดยตรง ใช้จำนวนตัวอย่าง 600 คนของร้านค้าวัสดุก่อสร้างรายใหญ่ 6 ราย ได้แก่ โฮมโปร โฮมเวิร์ค บุญถาวร ไทวัสดุ โกลบอลเฮ้าส์ และดูโฮม ทำการสุ่มในอัตราเท่ากันร้านละ 100 คน จากพนักงานระดับละ 25 คน การวิเคราะห์ใช้ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองของตัวแบบพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของพนักงาน แล้วจึงใช้ แนวคิด Soft System Methodology เพื่อพัฒนารูปแบบ ผลการศึกษาพบว่า ความสอดคล้องกลมกลืนขององค์ประกอบเชิงยืนยัน ตัวแบบพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของพนักงานร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างรายใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีค่าไค-สแควร์ (χ2​) 37.04 มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value = 0.14 ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ χ2/df = 1.88 ค่าดัชนีวัดความสอดคล้องกลมกลืนเชิงสัมพัทธ์ (CFI) = 0.99 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI = 0.98) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว AGFI = 0.97 และค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสองของการประมาณ (RMSEA = 0.022) ซึ่งผ่านเกณฑ์ทุกค่าแสดงว่าตัวแบบสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และพบว่าพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของพนักงานร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างรายใหญ่ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลประกอบด้วย 4 องค์ประกอบเรียงลำดับได้ดังต่อไปนี้ ด้านความพึงพอใจในชีวิตและการทำงาน (Sat = 0.95) ด้านความผูกพันต่อองค์การ (Com = 0.93) ด้านความยุติธรรมในองค์การ (Jus = 0.92)  และด้านภาพลักษณ์องค์การ (Ima = 0.91) ในการประยุกต์ใช้ตัวแบบพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของพนักงานระดับต่างๆ จะทำให้พนักงานทำงานอย่างเต็มความสามารถในการเพิ่มพูนคุณภาพในการปฏิบัติงานให้ร้านค้าปลีกมีความก้าวหน้า ด้วยความเต็มใจอุทิศตนเองเพื่อการสร้างสรรค์ให้อยู่ในสภาพที่ดีขึ้นมีความรับผิดชอบ ไม่ปฏิเสธที่จะทำการริเริ่มใดๆ หรือจำกัดปริมาณงาน มีความจริงใจ ไม่เปลี่ยนงานใหม่เมื่อคิดว่าที่อื่นดีกว่า มีระดับการมีส่วนร่วมในกิจกรรมสูงและให้ความร่วมมือในการช่วยสนับสนุนให้เป้าหมายของร้านค้าปลีกบรรลุผลสำเร็จ รวมทั้งมีความเต็มใจในการผลักดันการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพอย่างเต็มที่ เต็มกำลังเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้มากที่สุดนอกจากนั้นยังต้องการอยู่กับร้านค้าปลีกให้นานมากที่สุด เพราะมีความปรารถนาที่จะปฏิบัติงานยอมรับในค่านิยมและเป้าหมาย แสดงออกถึงความเป็นหนึ่งเดียวที่กลมกลืนกับพนักงานคนอื่นด้วยth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleFactor Effecting the Development of an Appropriate Organizational Citizenship Behavior (OCB) of Employees Working in Big Retailers of Construction Materials in Bangkok and Perimeteren
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของพนักงานร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้างรายใหญ่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57604756.pdf4.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.