Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1643
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKal PINKESORNen
dc.contributorกัลย์ ปิ่นเกษรth
dc.contributor.advisorVIROJ JADESADALUGen
dc.contributor.advisorวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2018-12-14T02:57:57Z-
dc.date.available2018-12-14T02:57:57Z-
dc.date.issued17/8/2018
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1643-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (PH.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study the effect of tacit knowledge sharing and explicit knowledge sharing. The effects of these knowledge sharing were service innovation, administrative innovation and organizational performance. In addition, these effect had a moderator such as, intensive competition. The causal factors which were economic reward, change management and formal orientation. The researcher applied mixed method research methodology by using quantitative research in order to study the relationship of causal and effect and also use questionnaire by airmail to be the research instrument to collect data of board of directors of 162 private hospitals. Statistic of analyzing these data were multiple regression analysis and using qualitative research with phenomenological approach by using semi-structured interview to be method of this research and also using in-depth interviews and non-participant observation with key informants such as, board of directors in private hospitals who obtained the certificate of Joint Commission International Accreditation : JCI. The research results revealed that: 1) Tacit knowledge sharing in social network had positive effect on explicit knowledge sharing in creating knowledge capability. 2) Tacit knowledge sharing in communication capability did not have an effect on explicit knowledge sharing. 3) Tacit knowledge sharing in cultural teamwork had positive effect on explicit knowledge sharing. 4) Tacit knowledge sharing in communication capability and cultural teamwork had positive effect on service innovation and administrative innovation. 5) Explicit knowledge sharing had positive effect on service innovation and administrative innovation. 6) Service innovation and administrative innovation had positive effect on organizational performance. 7) Intensive competition did not have any effect on relationship between service innovation with organizational performance but had positive effect on the relationship between administrative innovation with organizational performance. 8) Economic reward did not have any effect on tacit knowledge sharing and explicit knowledge sharing and 9) Change management and formal orientation had positive effect on tacit knowledge sharing and explicit knowledge sharing. Additionally, the result of qualitative research was relevant to the result of quantitative Research. However, this qualitative research discovered that transformational leadership had positive effect on tacit knowledge sharing in communication capability and explicit knowledge sharing in creating knowledge capability. Benefits of this research were to integrate the concepts and theory of knowledge sharing. Private hospitals could be able to use causal factors to support tacit knowledge sharing and explicit knowledge sharing for the purpose of develop several effect such as, service innovation, administrative innovation and organizational performance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบผลลัพธ์ของการแบ่งปันความรู้เชิงปรนัยและการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง ได้แก่ นวัตกรรมการบริการ นวัตกรรมการบริหาร และผลการดำเนินงานขององค์การ โดยมีปัจจัยแทรก ได้แก่ ความรุนแรงทางการแข่งขัน และเพื่อทดสอบปัจจัยเชิงสาเหตุ ได้แก่ ผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจ การจัดการการเปลี่ยนแปลง และการมุ่งเน้นความเป็นทางการ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงผสานวิธี โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณเพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ และใช้แบบสอบถามทางไปรษณีย์เป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลกับผู้บริหารของโรงพยาบาลเอกชนจำนวน 162 แห่ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ และใช้การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิทยาแบบปรากฏการณ์วิทยา โดยใช้แนวคำถามการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการวิจัย และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมกับผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้บริหารของโรงพยาบาลเอกชนที่ผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐานการรักษาระดับสากล ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า 1) การแบ่งปันความรู้เชิงปรนัย ด้านเครือข่ายทางสังคม มีผลกระทบทางบวกต่อการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง ด้านความสามารถในการสร้างความรู้ 2) การแบ่งปันความรู้เชิงปรนัย ด้านความสามารถทางการสื่อสาร ไม่มีผลกระทบต่อการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง 3) การแบ่งปันความรู้เชิงปรนัย ด้านวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม มีผลกระทบทางบวกต่อการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง 4) การแบ่งปันความรู้เชิงปรนัย ด้านความสามารถทางการสื่อสาร และด้านวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม มีผลกระทบทางบวกต่อนวัตกรรมการบริการ และนวัตกรรมการบริหาร 5) การแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง มีผลกระทบทางบวกต่อนวัตกรรมการบริการ และนวัตกรรมการบริหาร 6) นวัตกรรมการบริการ และนวัตกรรมการบริหาร มีผลกระทบทางบวกต่อผลการดำเนินงานขององค์การ 7) ความรุนแรงทางการแข่งขันไม่มีผลกระทบต่อความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมการบริการกับผลการดำเนินงานขององค์การ แต่มีผลกระทบทางบวกต่อความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมการบริหารกับผลการดำเนินงานขององค์การ 8) ผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจ ไม่มีผลกระทบต่อการแบ่งปันความรู้เชิงปรนัย และการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง และ 9) การจัดการการเปลี่ยนแปลง และการมุ่งเน้นความเป็นทางการ มีผลกระทบทางบวกต่อการแบ่งปันความรู้เชิงปรนัย และการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง นอกจากนั้นผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า สอดคล้องกับผลการวิจัยเชิงปริมาณ แต่มีข้อค้นพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีผลกระทบทางบวกต่อการแบ่งปันความรู้เชิงปรนัย ด้านความสามารถทางการสื่อสาร และการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง ด้านความสามารถในการสร้างความรู้ ประโยชน์จากการวิจัยครั้งนี้ก่อให้เกิดการบูรณาการทางแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งปันความรู้ โรงพยาบาลเอกชนสามารถนำปัจจัยเชิงสาเหตุมาสนับสนุนให้เกิดการแบ่งปันความรู้เชิงปรนัยและการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้ง เพื่อให้เกิดการพัฒนาผลลัพธ์ต่างๆ ได้แก่ นวัตกรรมการบริการ นวัตกรรมการบริหาร และผลการดำเนินงานขององค์การth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการแบ่งปันความรู้th
dc.subjectการแบ่งปันความรู้เชิงปรนัยth
dc.subjectการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้งth
dc.subjectนวัตกรรมการบริการth
dc.subjectนวัตกรรมการบริหารth
dc.subjectผลการดำเนินงานขององค์การth
dc.subjectความรุนแรงทางการแข่งขันth
dc.subjectผลตอบแทนเชิงเศรษฐกิจth
dc.subjectการจัดการการเปลี่ยนแปลงth
dc.subjectการมุ่งเน้นความเป็นทางการth
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth
dc.subjectการจัดการความรู้th
dc.subjectโรงพยาบาลเอกชนth
dc.subjectKNOWLEDGE SHARINGen
dc.subjectTACIT KNOWLEDGE SHARINGen
dc.subjectEXPLICIT KNOWLEDGE SHARINGen
dc.subjectSERVICE INNOVATIONen
dc.subjectADMINISTRATIVE INNOVATIONen
dc.subjectORGANIZATIONAL PERFORMANCEen
dc.subjectINTENSIVE COMPETITIONen
dc.subjectECONOMIC REWARDen
dc.subjectCHANGE MANAGEMENTen
dc.subjectFORMAL ORIENTATIONen
dc.subjectTRANSFORMATIONAL LEADERSHIPen
dc.subjectKNOWLEDGE MANAGEMENTen
dc.subjectPRIVATE HOSPITALSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTACIT KNOWLEDGE SHARING AND EXPLICIT KNOWLEDGE SHARING OF PRIVATE HOSPITALS IN THAILANDen
dc.titleการแบ่งปันความรู้เชิงปรนัยและการแบ่งปันความรู้ที่ชัดแจ้งของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57604912.pdf5.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.