Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1667
Title: | The Social Construction of Meanings and Building Motivation Strategiesin Energy Conservation from Supervisors at Food Processing Factory in Ratchaburi Province การให้ความหมายของการอนุรักษ์พลังงานและแนวทางสร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์พลังงานของพนักงานระดับหัวหน้างาน โรงงานผลิตอาหารแปรรูป จังหวัดราชบุรี |
Authors: | Niyorm WONGSIRINOPKUN นิยม วงศ์ศิรินพคุณ Pitak Siriwong พิทักษ์ ศิริวงศ์ Silpakorn University. Management Sciences |
Keywords: | การอนุรักษ์พลังงาน แรงจูงใจ ENERGY CONSERVATION THE MOTIVATION |
Issue Date: | 12 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | This research aimed to study 1) the social construction of meanings of energy conservation and 2) the strategies of building motivation in energy conservation from the supervisors at Food Processing Factory in Ratchaburi Province. This study was a qualitative research using a purposive sampling design. A sample was selected from nine supervisors in various departments including Human Resource, Production, System Development, Maintenance, Warehouse, Rice Noodles Production, Noodle Soup Production, Baking and Packing and Security. The data was collected by conducting in-depth interviews, tape recording, observing and taking notes as well as documentary study.
The result showed that the supervisors defined the meaning of energy conservation in two significant meanings which were management and controlling of energy consumption in machines. The strategies that could build motivation in energy conservation from supervisors were 1) building motivation among foremen by informing the benefits of energy conservation, participating in activities related to conservation, building a team and creating awareness among employees 2) carrying out a factory mission of conservation by supporting the operations in Management Department, boosting employee’s morale, making employee’s evaluation and educating employees 3) facilitating all forms of communication which means creating satisfaction and desire, creating values of conservation, forming a team, doing public relations and establishing organization policies and 4) using technology as a tool for measurement of energy consumption, engineering improvement and loss reduction. การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึง 1) การให้ความหมายของการอนุรักษ์พลังงาน 2) แนวทางการสร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์พลังงานของพนักงานในระดับหัวหน้างาน โรงงานอาหารแปรรูป จังหวัดราชบุรี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสร้างทฤษฎีฐานราก (Grounded Theory) โดยมีแบบแผนการเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจง (Purposive Sampling Design) โดยเลือกจากพนักงานที่ทำงานในแผนกต่างๆ ดังนี้ หัวหน้าแผนกบุคคล หัวหน้าแผนกผลิต หัวหน้าแผนกพัฒนาระบบ หัวหน้าแผนกซ่อมบำรุง หัวหน้าแผนกคลังสินค้า หัวหน้าแผนกเส้นหมี่ หัวหน้าแผนกผลิตก๋วยเตี๋ยว หัวหน้าแผนกความปลอดภัย หัวหน้าแผนกอบและบรรจุ จำนวน 9 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์จากแนวคำถาม การถอดเทป การสังเกตและการจดบันทึก และการศึกษาเอกสารงานวิจัยต่างๆ ผลการวิจัยพบว่า 1) หัวหน้างานได้ให้ความหมายของการอนุรักษ์พลังงาน มีนัยสำคัญ 2 ความหมาย คือ การบริหารจัดการและควบคุมการใช้พลังงานเครื่องจักร 2) แนวทางการสร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์พลังงานของหัวหน้างานมี 4 แนวทาง ดังนี้ 1) การสร้างรูปแบบหัวหน้างาน เป็นการสร้างการรับรู้ในด้าน ประโยชน์ของการอนุรักษ์พลังงาน ด้านการมีส่วนร่วม ด้านการร่วมมือเพื่อสร้างทีมงาน การสร้างจิตสำนึกของพนักงาน 2) ด้านพันธกิจของโรงงาน ประกอบด้วย ฝ่ายบริหารส่งเสริม การประเมินผลงานพนักงาน การส่งเสริมด้านขวัญกำลังใจ การส่งเสริมเพิ่มความรู้ 3) รูปแบบด้านการสื่อสาร รูปแบบกิจกรรมในด้าน การสร้างกิจกรรมด้านแรงจูงใจ คุณค่าด้านการอนุรักษ์พลังงาน ด้านการสร้างทีมงาน ด้านประชาสัมพันธ์ การสร้างนโยบายองค์กรสู่ความยั่งยืน 4) รูปแบบด้านเทคโนโลยี การสนับสนุนเพื่อการชี้วัดข้อมูลการใช้พลังงาน การปรับปรุงงานด้านวิศวกรรม ด้านการลดความสูญเสีย |
Description: | Master of Business Administration (M.B.A.) บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1667 |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58602358.pdf | 3.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.