Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1784
Title: HETEROGENEOUS PARALLEL MACHINE SCHEDULING OF A PACKING DEPARTMENT: THE CASE STUDY OF PHARMACEUTICAL FACTORY
การจัดตารางการผลิตบนเครื่องจักรขนานที่แตกต่างกันของแผนกบรรจุ: กรณีศึกษาโรงงานผลิตยาแห่งหนึ่ง
Authors: Nattawuth LEAWIN
ณัฐวุฒิ เหลียวอินทร์
Choosak Pornsing
ชูศักดิ์ พรสิงห์
Silpakorn University. Engineering and Industrial Technology
Keywords: จัดตารางการผลิต เครื่องจักรแบบขนาน บริการซอฟท์แวร์ผ่านอินเทอร์เน็ต อุตสาหกรรมผลิตยา
PRODUCTION SCHEDULING/PARALLEL MACHINES/SOFTWARE AS A SERVICE/ PHARMACEUTICAL INDUSTRY
Issue Date:  17
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This research aims to study the scheduling in a pharmaceutical factory and developing method of using Software as a service (Saas). The researcher selected blister packing scheduling because this process  behave as a bottleneck, causing delay of overall the production  process and  late delivery to customer due to the blister packing process utilizes multiple machines with different capacities and speed and it have to  set up, pack and require a line clearance after finishing each job  to reduce cross-contamination between products. Therefore, the researcher selected to study a heterogeneous parallel machine scheduling. The objective is to minimize  the total makespan by using AMPL language  to connect between mathematical model and CPLEX solver on NEOS server which is a free of service charge. The result of solving showed that  the extravagant tool could  reduce the total makespan from the current practice about 17.49%
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิธีการจัดตารางการผลิตของโรงงานผลิตยาแห่งหนึ่งและประยุกต์ใช้ซอฟท์แวร์ผ่านอินเตอร์เน็ตมาช่วยจัดตารางการผลิตโดยเลือกศึกษาขั้นตอนการวางแผนการผลิตของแผนกบรรจุแบบบลิสเตอร์ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวเป็นขั้นตอนคอขวดที่ส่งผลให้เกิดความล่าช้าทั้งกระบวนการผลิตและต่อเนื่องจนไปถึงการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลูกค้า เนื่องจากกระบวนการบรรจุยาเม็ดลงแผงบลิสเตอร์มีการใช้เครื่องจักรหลายเครื่องที่มีความสามารถและความเร็วในการผลิตได้แตกต่างกันรวมไปถึงกรรมวิธีและขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่การตั้งค่าเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต การบรรจุและการทำความสะอาดเครื่องจักรหลังจากการผลิตแต่ละงานเสร็จสิ้น (Line Clearance) ดังนั้นผู้วิจัยจึงทำการศึกษาการจัดตารางการผลิตด้วยเครื่องจักรแบบขนานซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อหาเวลาปิดงานของระบบให้สั้นที่สุด (Minimize makespan) โดยใช้ภาษา AMPL มาเป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างตัวแบบทางคณิตศาสตร์และเลือกใช้ซอฟท์แวร์ CPLEX ที่ให้บริการบนเซิฟเวอร์ NEOS ซึ่งไม่คิดค่าบริการจากผลการศึกษาพบว่าวิธีการจัดตารางการผลิตโดยการใช้บริการบนเซิฟเวอร์ NEOS สามารถลดเวลาปิดงานของระบบได้ดีกว่า ถึงร้อยละ 17.49
Description: Master of Engineering (M.Eng.)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1784
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58405316.pdf4.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.