Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1786
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wiwat ONNAKKLUM | en |
dc.contributor | วิวัฒน์ อ่อนนาคคล้ำ | th |
dc.contributor.advisor | Kittisak Khuwaranyu | en |
dc.contributor.advisor | กิตติศักดิ์ คู่วรัญญู | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Engineering and Industrial Technology | en |
dc.date.accessioned | 2018-12-14T03:04:23Z | - |
dc.date.available | 2018-12-14T03:04:23Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1786 | - |
dc.description | Master of Engineering (M.Eng.) | en |
dc.description | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม) | th |
dc.description.abstract | Clarification is the turbidity removal process of water treatment plant. The objective of this paper was to study the factors affecting on energy consumption in order to control energy saving strategy. These factors were raw water turbidity in the range of 26-40 NTU and production rate in the range of 3.76-5.20 m3/sec. Clarifiers were sludge blanket and sludge recirculation clarifier. Experimental results found that the raw water turbidity was not significantly affect to energy consumption, while the production rate was significantly affect to energy consumption. Sludge blanket clarifier provided lower energy consumption than sludge recirculation clarifier about 31-37%. Subsequently, the operating pattern in production rate can be arranged to decreased energy consumption. The results showed that it can be reduced about 5.24 % of energy saving of clarification process about 688,207 Baht per year. | en |
dc.description.abstract | กระบวนการตกตะกอนเป็นกระบวนการกำจัดตะกอนและสารแขวนลอยที่ปะปนมากับน้ำดิบ บทความนี้จะศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้พลังงาน เพื่อนำไปกำหนดเป็นมาตรการประหยัดพลังงาน โดยปัจจัยที่มีการเปลี่ยนแปลงคือ ความขุ่นน้ำดิบในช่วง 26-40 NTU และอัตราการผลิตในช่วง 3.76-5.20 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ศึกษาถังตกตะกอน 2 ชนิดคือ ถังตกตะกอนชนิดชั้นตะกอนและชนิดหมุนเวียนตะกอน ผลการทดลองพบว่าความขุ่นน้ำดิบไม่ส่งผลต่อการใช้พลังงานอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนอัตราการผลิตส่งผลต่อการใช้พลังงานอย่างมีนัยสำคัญ โดยที่อัตราการผลิต 5.20 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาทีประหยัดพลังงานกว่าที่อัตราการผลิต 3.76 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และถังตกตะกอนชนิดชั้นตะกอนจะประหยัดพลังงานกว่าถังตกตะกอนชนิดหมุนเวียนตะกอน 31-37 % จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้ไปปรับเปลี่ยนรูปแบบการอัตราการผลิตให้ใช้พลังงานน้อยที่สุด พบว่า สามารถลดการใช้พลังงานในกระบวนการตกตะกอนได้ประมาณ 5.24 % คิดเป็นมูลค่า 688,207 บาทต่อปี | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | พลังงานจำเพาะ | th |
dc.subject | ถังตกตะกอนชนิดชั้นตะกอน | th |
dc.subject | ถังตกตะกอนชนิดหมุนเวียนตะกอน | th |
dc.subject | กระบวนการผลิตน้ำประปา | th |
dc.subject | Specific energy consumption | en |
dc.subject | Sludge blanket clarifier | en |
dc.subject | Sludge recirculation clarifier | en |
dc.subject | Water treatment process | en |
dc.subject.classification | Energy | en |
dc.title | Investigation and comparison the energy consumption of clarification process of sludge blanket and sludge recirculation clarifier for water treatment plant. Case study : Mahasawat water treatment plant. | en |
dc.title | การศึกษาและเปรียบเทียบการใช้พลังงานในกระบวนการตกตะกอนด้วยถังตกตะกอนชนิดชั้นตะกอนและชนิดหมุนเวียนตะกอนสำหรับการผลิตน้ำประปา กรณีศึกษา : โรงงานผลิตน้ำมหาสวัสดิ์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Engineering and Industrial Technology |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58406303.pdf | 5.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.