Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1795
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWorawit KAEWSRINOUMen
dc.contributorวรวิทย์ แก้วศรีนวมth
dc.contributor.advisorITHIPOL THANGCHALOKen
dc.contributor.advisorอิทธิพล ตั้งโฉลกth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Artsen
dc.date.accessioned2019-01-07T03:27:16Z-
dc.date.available2019-01-07T03:27:16Z-
dc.date.issued2/1/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1795-
dc.descriptionMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.descriptionศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)th
dc.description.abstractThe current era we live in is full of materialism. According to news, media, and violence. This problem is spreading faster and wider causing a moral collapse that bringing about a metal suffering in society worldwide. I am aware of these problem such as divorce, family debt, and loss of fathers. It affects my mind deeply. This thesis “Traces of state of mind” introduces the principle of mindfulness called Anapanasati which is the teaching of the Lord of Buddha. I use Anapanasati as the inspiration to my creation for being mindful of the present moment and to be aware of all mental distractions. Anapanasati is an awakened state of consciousness to help people living in current societal conditions. My abstract paintings express this concept by recording the overlapping of various traces of the emotion state and also reflect the interaction between creative process of mind, feeling, thought, and reality. These paintings express my identity by using the “present moment” concept as the heart of this thesis which combines artistic processes. Being mindful and wise can also be advantageous for living in current societal conditions. It is very important to heal the spirit and soul to strengthen the mind in order to live peacefully in this reality.en
dc.description.abstractสภาวะสังคมโลกปัจจุบันที่เต็มไปด้วยยุคสมัยแห่งวัตถุนิยม การสื่อสารที่รวดเร็ว ข่าวสารและปัญหาความรุนแรงต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อสภาวะล่มสลายทางจิตวิญญาณและ การเสื่อมถอยด้านจริยธรรมที่ดีงามในสังคม สร้างความทุกข์ภายในจิตใจและเป็นปัญหาที่เกิดขึ้น ในสังคมปัจจุบันอย่างมาก ข้าพเจ้าตระหนักถึงปัญหาและประสบสภาวะความทุกข์ทางจิตใจจากปัญหา การหย่าร้างของครอบครัว หนี้สิน การสูญเสียบิดา เป็นต้น ส่งผลต่อสภาวะจิตใจของข้าพเจ้าเป็นอย่างมาก อันนำไปสู่ความทุกข์และการล่มสลายทางจิตใจ การสร้างสรรค์ผลงานวิทยานิพนธ์ชุด “บันทึกร่องรอยสภาวะแห่งจิต” ข้าพเจ้า นำหลักการเจริญสติแบบอานาปานสติ อันเป็นหลักพระธรรมคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้า มาใช้ในกระบวนการทำงานสร้างสรรค์ เพื่อให้จิตตื่นรู้กับความเป็นปัจจุบันขณะ รู้เท่าทันจิตที่ฟุ้งซ่าน สับสน วุ่นวาย ให้เกิดสมาธิ สติ ปัญญา ในดำรงชีวิตกับสภาวะสังคมปัจจุบัน โดยแสดงออกมาในรูปแบบผลงานจิตรกรรมเชิงนามธรรม ผ่านการบันทึกเป็นรูปทรงร่องรอย ต่าง ๆ ที่ทับซ้อนกัน เพื่อที่สะท้อนถึงสภาวะอารมณ์ความรู้สึก ที่ตอบโต้กันระหว่างกระบวนการ ทำงานสร้างสรรค์กับสภาวะจิต ตามทัศนะความคิด ความรู้สึกนึกคิดและสภาวะความเป็นจริง เป็นการแสดงออกในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่พัฒนาเป็นรูปแบบอัตลักษณ์เฉพาะบุคคล ผ่านกระบวนการทำงานที่มีความหมายในเรื่อง “ปัจจุบันขณะ” อันเป็นหัวใจสำคัญของ การสร้างสรรค์วิทยานิพนธ์ในชุดนี้ การเจริญสติแบบอานาปานสติ เป็นการตื่นรู้เท่าทันอารมณ์ความรู้สึกของสภาวะจิตใจ เพื่อเกิดเป็นสมาธิ สติ และปัญญา นอกจากได้นำสิ่งนี้มาเชื่อมโยงกับแนวคิดและผสานกับกระบวนการทางศิลปะ ยังสามารถนำมาใช้สำหรับการดำรงชีวิตกับสภาวะปัจจุบัน อันเป็นสิ่งสำคัญอย่างมากในการรักษา บำบัดจิตใจ ที่ล่มสลายของจิตวิญญาณ ให้หวนกลับมาเข้มแข็ง เป็นอยู่กับสภาวะความเป็นจริงอย่างสงบสุขth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectบันทึกร่องรอยth
dc.subjectสภาวะแห่งจิตth
dc.subjectการเจริญสติth
dc.subjectจิตวิญญาณth
dc.subjectTRACESen
dc.subjectSTATE OF MINDen
dc.subjectMINDFULNESSen
dc.subjectSOULen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTRACES OF THE STATE OF MINDen
dc.titleบันทึกร่องรอยสภาวะแห่งจิตth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59001203.pdf8.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.