Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1845
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJameekorn CHOOSABen
dc.contributorจามีกร ชูทรัพย์th
dc.contributor.advisorU-tain Wongsathiten
dc.contributor.advisorอุเทน วงศ์สถิตย์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Archaeologyen
dc.date.accessioned2019-08-06T05:34:43Z-
dc.date.available2019-08-06T05:34:43Z-
dc.date.issued12/6/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1845-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research aims to study and analyse a didactic poem "Phra Paramattha" appeared in 29 manuscripts kept in the National Library of Thailand. Due to their different content and writing styles, these manuscripts were divided into two groups, which are old and new version. These two groups of manuscripts were read thoroughly and critically not only to  find their form, their author, their compositing date, their background story, their objective, their literature dissemination, and the use of them as a sermon but also to analyse their content and their literature and social values. The research found that most manuscripts are dilapidated and written in Thai without composing date and author. However, it has been assumed that the first group or the old version might be composed in the late of Ayutthaya period whereas the second group or the new version was written either in Thonburi or Rattanakosin period. In addition, the manuscripts in the second group or the new version can be classified into two groups according to their writing period. The first group was written in Thonburi and the second group, which is recognised as the most well-known version, was dated in the reign of King Rama 3 – 5 respectively. The content of these Phra Paramattha’s manuscripts is associated with the principle of Buddhism. “Paramattha Dharma”, the highest level of Buddhism’s principle was modified to be a didactic poem and was recorded in these manuscripts as this could assist normal people to read and understand “Paramattha Dharma” easily. Although the composing style of the didactic poem appeared in these two versions are different, their content focused on the same point which is the objective to teach both “the basic and advance Dharma”. “The basic Dharma” consists of worshipping the Tripitaka, gratitude, benefaction, committing a sin, and hearing a sermon whilst “the advance Dharma” is related with the three characteristics or Trilaksana, cycle of birth and death, and Nirvana. Phra Paramattha also has two distinctive values. The first value is the literature value showing the writing competence of the composer. This value associated with the content adaptation and the selection of words, phases, and images to ensure that the readers will be able to easily understand “Paramattha Dharma”. Likewise, the second value is the social value. This value is about Buddhist principle, social environment, social belief, culture, and writing style presenting in each manuscript. This helps to study and compare the differences between the past and the present society and understand the social development as well.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาและวิเคราะห์วรรณกรรมกลอนสวด เรื่อง พระปรมัตถ์ โดยใช้ต้นฉบับสมุดไทยของสำนักหอสมุดแห่งชาติ ท่าวาสุกรี กรุงเทพฯ จำนวน 29 เล่ม โดยการแบ่งกลุ่มของต้นฉบับออกเป็น 2 สำนวนใหญ่ ๆ ได้แก่ สำนวนความเก่าและสำนวนความใหม่ แล้วตรวจสอบชำระต้นฉบับของทั้ง 2 สำนวน เพื่อหาลักษณะของต้นฉบับ ผู้แต่งและสมัยที่แต่ง ที่มาของเรื่อง จุดประสงค์ของการแต่ง การแพร่กระจายของวรรณกรรม และการใช้สวดอ่าน จากนั้นจึงวิเคราะห์เนื้อหาและคุณค่าของวรรณกรรมทั้งด้านวรรณศิลป์และสังคม ผลการศึกษาพบว่าวรรณกรรมกลอนสวดเรื่องพระปรมัตถ์ ต้นฉบับส่วนมากชำรุดไม่สมบูรณ์ บันทึกด้วยอักษรไทย ภาษาไทย ไม่ทราบชื่อผู้แต่งและปีที่แต่ง สันนิษฐานว่าสำนวนความเก่าแต่งขึ้นในสมัยอยุธยาตอนปลาย สอดคล้องสำนวนความใหม่กลุ่มที่หนึ่งซึ่งพบต้นฉบับที่สร้างในสมัยธนบุรี ส่วนสำนวนความใหม่กลุ่มที่สองเป็นสำนวนที่แพร่หลายที่สุดซึ่งต้นฉบับส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในสมัยรัชกาลที่ 3 - 5 เนื้อหาของเรื่องพระปรมัตถ์เป็นการสอนตามหลักพุทธศาสนา มีที่มาจากการนำปรมัตถธรรมซึ่งเป็นธรรมชั้นสูงมาดัดแปลงใหม่เป็นวรรณกรรมกลอนสวด เพื่อให้คนทั่วไปสามารถอ่านและทำความเข้าใจได้ง่าย โดยพระปรมัตถ์ทั้ง 2 สำนวนมีบทประพันธ์แตกต่างกัน แต่มุ่งเน้นการสอนเรื่องเดียวกัน คือ สอนธรรมระดับพื้นฐาน ได้แก่ การบูชาพระรัตนตรัย ความกตัญญู การสร้างกุศล โทษของการทำบาป การฟังเทศน์ และสอนธรรมระดับสูง ได้แก่ ไตรลักษณ์ การเวียนว่ายตายเกิด และนิพพาน พระปรมัตถ์เป็นวรรณกรรมที่มีคุณค่าเด่น ๆ 2 ด้าน คือ 1.ด้านวรรณศิลป์ ได้แก่ การดัดแปลงเนื้อหา การเลือกสรรคำ โวหาร และภาพพจน์ ที่แสดงถึงความรู้ความสามารถของผู้แต่ง และทำให้เข้าใจหลักธรรมได้ง่าย 2.ด้านสังคม ได้แก่ การสอดแทรกหลักธรรมต่าง ๆ สภาพสังคม ความเชื่อ และวัฒนธรรมการเขียนหนังสือของคนในสมัยก่อน ทำให้สามารถศึกษา เปรียบเทียบ หรือมองเห็นพัฒนาการของสังคมระหว่างสมัยก่อนกับสมัยปัจจุบันได้th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectวรรณกรรมกลอนสวดth
dc.subjectพระปรมัตถ์th
dc.subjectปรมัตถธรรมth
dc.subjectปรมัตถ์th
dc.subjectDiatic poemen
dc.subjectPhra Paramatthaen
dc.subjectParamatthaen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleAn Analytical Study of a Didactic Poem "Phra Paramattha" en
dc.titleการศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรมกลอนสวด เรื่อง พระปรมัตถ์ th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56114202.pdf13.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.