Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1881
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSorapat SARAPRUETen
dc.contributorสรภัทร สาราพฤษth
dc.contributor.advisorPathamaphorn Praphitphongwaniten
dc.contributor.advisorปฐมาภรณ์ ประพิศพงศ์วานิชth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Decorative Artsen
dc.date.accessioned2019-08-06T05:59:08Z-
dc.date.available2019-08-06T05:59:08Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1881-
dc.descriptionMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.descriptionศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.)th
dc.description.abstract-        Nielloware and enamel technique on product represent the unique wisdom and techniques of Thai craftsmanship since Ayutthaya period. No Evidence address or present that two techniques are included in the same workpiece. Therefore, the researcher was interested in researching the new technique to filling and coloring on the same surface and the workpiece was not divided into two parts.       The objectives of this research have studied the combine technique between nielloware and enamel for designing the jewelry. The process of this research start from study the technique by primary and secondary data; surveying and interviewing was the main research tool of this stage. Moreover, study the other technique and applied in experimental to seeking the best solution and technique.       The result of this research completely getting the new technique; nielloware merge with enamel leading to the design of jewelry.en
dc.description.abstractงานเครื่องถมและงานลงยาสีเป็นงานศิลปะไทยที่อยู่คู่คนไทยและมีประวัติศาสตร์กับชาติไทยมาอย่างยาวนาน ซึ่งเป็นงานที่สะท้อนให้เห็นถึงเอกลักษณ์ภูมิปัญญารวมถึงเทคนิคเชิงช่างไทยได้เป็นอย่างดี แม้ว่างานเครื่องถมและงานลงยาสีนี้จะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา แต่ก็ไม่ปรากฏว่ามีการนำสองเทคนิคนี้มารวมอยู่ในชิ้นงานเดียวกัน จึงทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะค้นคว้าหาเทคนิคและวิธีการในการทำให้ยาถมและยาสีอยู่บนชิ้นงานที่มีพื้นผิวเดียวกัน โดยที่ชิ้นงานไม่ถูกแบ่งเป็นสองส่วนและนำมาประกอบกันภายหลัง ซึ่งจะหมายถึงเทคนิคที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาคือ    ไม่ใช้การทำเครื่องถมแยกมา 1 ส่วน และทำงานลงยาสีอีก 1 ส่วน แล้วนำทั้งสองส่วนนี้มาประกอบกันอีกครั้ง โดยการติดกาว การฝัง การร้อย หรือการเชื่อมเลเซอร์ประกอบ เป็นต้น ในงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษาทดลองเทคนิคการทำเครื่องถมร่วมกับงานลงยาสีและนำไปสู่การออกแบบเป็นเครื่องประดับ โดยมีกระบวนการการวิจัยคือศึกษาข้อมูลเรื่องเทคนิคการทำเครื่องถมและเทคนิคการลงยาสี ซึ่งมีการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งปฐมภูมิและทุติยภูมิด้วยการลงพื้นที่สัมภาษณ์ช่างทำเครื่องถมและงานลงยาสี เพื่อนำมาสู่การทดลองการลงยาถมกับยาสี โดยยึดเทคนิคของการลงยาถมกับการลงยาสีเป็นแกนหลักสำคัญและหาวิธีทดลองอื่นเพิ่มเติม เพื่อให้ได้เทคนิคที่สมบูรณ์มากที่สุด จากการศึกษาทดลองดังกล่าวสามารถค้นพบเทคนิคใหม่ที่ทำให้ยาถมและยาสีสามารถอยู่ร่วมกันได้ โดยหวังว่าการทดลองครั้งนี้จะช่วยพัฒนางานเครื่องถมร่วมกับงานลงยาสี ซึ่งนำไปสู่การออกแบบเป็นงานเครื่องประดับต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectเครื่องถมth
dc.subjectงานลงยาสีth
dc.subjectเครื่องประดับth
dc.subjectNIELLOWAREen
dc.subjectENAMELen
dc.subjectJEWELRYen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleSTUDYING AND DEVELOPMENT NIELLOWARE COMBIMED WITH ENAMEL TECHINQUES FOR JEWELRY PRODUCTIONen
dc.titleการศึกษาและพัฒนาเครื่องถมร่วมกับเทคนิคการลงยาสีสำหรับงานเครื่องประดับ  th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58157305.pdf8.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.