Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/188
Title: | ฮวงจุ้ย : ความเชื่อ ความรู้ และอานาจในการจัดการ และการสร้างพื้นที่ทางสังคม |
Other Titles: | FENG SHUI : BELIEVE KNOWLEDGE AND POWER MANAGEMENT AND SOCIAL SPACE CONSTRUCTION |
Authors: | เจริญวรเกียรติ, สมชัย CHAROENVORAKIET, SOMCHAI |
Keywords: | ฮวงจุ้ย ความเชื่อ ความรู้ การสร้างพื้นที่ FENG SHUI BELIEF FORMATION SPACE CREATION |
Issue Date: | 27-Jul-2559 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยศิลปากร |
Abstract: | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1.ศึกษาการก่อรูป โลกทัศน์ อุดมคติ ความเชื่อ ที่เกี่ยวกับฮวงจุ้ยใน สังคมไทย 2.ศึกษาภาคปฏิบัติการความรู้และอานาจของวาทกรรมฮวงจุ้ย 3.ศึกษาการสร้างพื้นที่ของฮวงจุ้ย ในสังคมไทย เป็นการวิจัยหลังยุคสมัยใหม่ (Postmodernism) เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ จากกลุ่มผู้ให้ ข้อมูลหลัก 30 คน โหราจารย์ 2 คน เครื่องมือ ได้แก่ การวิเคราะห์เอกสาร การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การ สัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์แบบเรื่องเล่า การเก็บรวบรวม และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้ การวิเคราะห์วาท กรรม และการวิเคราะห์ ตัวบท (Text) ผลการวิจัยพบว่า การก่อรูปของฮวงจุ้ยที่เข้ามาในสังคมไทยได้เนื่องจากฮวงจุ้ยเป็น ความรู้ที่ ได้รับการถ่ายทอดมาจากคนไทยเชื้อสายจีน ตอนที่ 1 การก่อรูปโลกทัศน์ อุดมคติ และความเชื่อ เกี่ยวกับ ฮวงจุ้ย โดย 1.1โลกทัศน์ของฮวงจุ้ย คือ “ฮวงจุ้ย การอยู่อาศัยในทาเลที่ดี และมีความสุข” และสาหรับ 1.2อุดมคติของ ฮวงจุ้ย คือ “ฮวงจุ้ย ทาให้การทางานสาเร็จ ครอบครัวมีความสุข” 1.3 ความเชื่อของฮวงจุ้ยเกิดจาก 1.3.1 ประเพณี การไหว้บรรพบุรุษ 1.3.2 ความกลัว 1.3.3 การกระทาตามผู้อื่น ตอนที่ 2 ภาคปฏิบัติการของวาทกรรมฮวงจุ้ยผ่าน ความรู้และอานาจ (Power) 2.1. ฮวงจุ้ยเป็นการสร้างความรู้ 2.2 ความรู้ฮวงจุ้ยเป็นการสร้างอานาจ (Power) 2.3. ความรู้ และการใช้อานาจ (Power) มีผู้ใช้อานาจคือสถาบันฮวงจุ้ย และผู้เชี่ยวชาญ 2.4 ภาคปฏิบัติการของ ฮวงจุ้ย เกิดจาก 2.4.1การก่อสร้าง และสถาปัตยกรรมที่นาความรู้ฮวงจุ้ยมาใช้ และก่อให้เกิดอานาจ 2.4.2 การทา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ที่นาฮวงจุ้ยมาบริหารจัดการ และการตลาด ตอนที่ 3 การสร้างพื้นที่ทางสังคมจาก 3.1 การ สร้างพื้นที่จากการขยายฐาน โดยใช้ สิ่งพิมพ์ หนังสือ ที่รวดเร็วมีการพัฒนาสิ่งพิมพ์ หนังสือที่มีความเฉพาะเจาะจง ที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านอื่น ๆ อันเป็นการสร้างความเป็นอื่น(The others) ให้สยบยอม 3.2 การขยายฐานอานาจ เพื่อสร้างสถาบันฮวงจุ้ย การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับฮวงจุ้ยสู่สังคม มีชมรม และสถาบันฮวงจุ้ยเพิ่มขึ้นด้วย เทคโนโลยีแห่งตัวตน (Technology of Self) ให้คนเชื่อและสยบยอม (Panoptical) 3.3 การสร้างพื้นที่จากการขยาย ฐานด้วยการเพิ่มจานวนของโหราจารย์ นาความรู้ฮวงจุ้ยไปเผยแพร่ และทาลายกีดกันโหราศาสตร์อื่น 3.4 การ สร้างพื้นที่จากการขยายฐานสื่อประชาสัมพันธ์ การพัฒนาด้านการสื่อสาร โทรทัศน์ โซเชียลมีเดีย ทาให้ความรู้ เกี่ยวกับฮวงจุ้ยถูกเผยแพร่ไปอย่างรวดเร็ว สร้างความเชื่อ โลกทัศน์ อุดมคติ เบียดบัง กดทับ โหราศาสตร์อื่น 3.5 การปิดกั้น กดทับ และเบียดขับ โหราศาสตร์อื่น โดยการสร้างความเป็นอื่น (The others) จากการที่ฮวงจุ้ยเป็น ความรู้ และได้สร้างบรรทัดฐานใหม่ในการจัดการเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการก่อสร้าง สถาปัตยกรรม การ บริหารจัดการด้านบุคคล และการบริหารการตลาด ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยได้ช่วงชิงการนา (Hegemony) และปิดกั้น กดทับโหราศาสตร์อื่น ๆ 3.6 การดารงอยู่ของฮวงจุ้ย ด้วยการเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ การสร้างความรู้ที่ แตกต่าง เป็นความรู้ที่ถูกต้อง สามารถนาไปแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการอยู่อาศัยได้ The Objective of this Thesis: 1.To study the world view, ideal and belief of Feng Shui in Thai society 2.To study the practice of the discourse of Feng Shui through knowledge and power 3.To study the Social Space Construction of Feng Shui in Thai Society by Postmodernism. Proceeding the research, The quality research of 30 people from focus group and 2 astrologers involving in participatory observation, date collecting, documents, and in-depth and informal interviews. Statistical for quality analysis was based on text analysis and discourse analysis. Therefore, From the formation result of the research we found that Feng Shui blended into Thai society because it was the world view that inherit from Thai-Chinese. That (1) The world view, ideal and belief of Feng Shui in Thai society come from 1.1 World view of Feng Shui is “ Feng Shui is living in good place make a happy life. 1.2 Idea of Feng Shui is “Feng Shui make successfully for working and happy family. 1.3 The believe of Feng Shui come from 1.3.1 Ancestor Ceremony prototype, 1.3.2 Fear, 1.3.3 Following the others (2) The practice of the discourse of Feng Shui through knowledge and power as the practical part of Feng Shui come from 2.1 Feng Shui is a knowledge 2.2 Know ledge of Feng Shui make a Power 2.3 Knowledge and Power of Feng Shui used by Feng Shui institute and professional 2.4 The practice of the discourse come from 2.4.1Construction and Architecture relate to knowledge of Feng Shui and make a power 2.4.2 Real Estate business where used FengShui to make a Management and Marketing (3). The social space creation by discursive practice of discourse occurs from; 3.1 The rapid development in publications and more specification of Feng shui books make defeatism from the others 3.2 The promotion of Feng Shui to the society and the increasing of Feng Shui associations, Organization and clubs, by Technology of Self that make people believe and broadly accept (Panoptical) 3.3 The increasing of Feng Shui astrologers who affect and related to the way we live 3.4 The improvement of social media, TV and other communication network that widely spread 3.5 The Press with misappropriate to the another astrology come from the Knowledge of Feng Shui that make the new norm to use in Management of Construction, Architecture Human resource and Marketing in Real Estate Business. make the difference (The others) to be the Leader (Hegemony) . 3.6 The occupy of Feng Shui to make the confidence by the difference knowledge that can solve the problem from living. |
Description: | 55604911 ; สาขาวิชาการจัดการ -- สมชัย เจริญวรเกียรติ |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/188 |
Appears in Collections: | Management Sciences |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
การจัดการ 15.55604911 สมชัย เจริญวรเกียรติ .pdf | 3.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.