Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1907
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Punchaporn THATHONG | en |
dc.contributor | ปัญจพร ทาทอง | th |
dc.contributor.advisor | SUMALEE LIMPRASERT | en |
dc.contributor.advisor | สุมาลี ลิ้มประเสริฐ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Arts | en |
dc.date.accessioned | 2019-08-06T06:00:48Z | - |
dc.date.available | 2019-08-06T06:00:48Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1907 | - |
dc.description | Master of Arts (M.A.) | en |
dc.description | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (อ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This independent study aims to study 137 online narrative stories in Facebook fanpage "MANUCH KRUNGTHEP". The study focuses on contents, forms and roles of these online narratives stories, posted between 1 June 2017 to 2 june 2018. In terms of content, these online narrative stories deal with individual and social experiences; health and government welfare, occupations, religion, self-discovery, family, LGBT, violence, politic, environmental conservation, homeless and diaspora. The content about health and government welfare, which involves with illness, disabled person, health care and government welfare, has far more number than other kinds of content. And the content about diaspora is the smallest group. In terms of forms, these narratives stories are not very long. There may be between 1 to 8 paragraphs. In the terms of storytelling technique, there are 2 ways for presentation; the narration by self and the narration by conversation. The narration by self is the art of narration that is found more than the other. In terms of roles, these online narrative stories play certain roles; giving more social status, recording social experience, comunicateing the concept of civil society, and encouraging anyone who dispairs. Online narrative stories in Facebook fanpage ""MANUCH KRUNGTHEP" are the narrations that reunion the diversity of people in the Bangkok together, both in social and in cultural dimensions, through the new media. It is also the new way to make balance to the spirit of humanity for people who live in a big city as in Bangkok. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง เรื่องเล่าออนไลน์ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “มนุษย์กรุงเทพฯ” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเนื้อหาและรูปแบบของเรื่องเล่าออนไลน์ พร้อมทั้งศึกษาบทบาทหน้าที่ของเรื่องเล่าออนไลน์ โดยวิเคราะห์จากเรื่องเล่าออนไลน์ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “มนุษย์กรุงเทพฯ” จำนวน 137 เรื่อง ระหว่าง 1 มิถุนายน 2560 ถึง 2 มิถุนายน 2561 ผลการศึกษาสรุปได้ว่า เรื่องเล่าออนไลน์ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “มนุษย์กรุงเทพฯ” มีเนื้อหาทั้งที่เกี่ยวข้องกับปัจเจกบุคคลและประสบการณ์ทางสังคม กล่าวคือ เป็นเรื่องเล่าเกี่ยวกับสุขภาพและสวัสดิการของรัฐ, เรื่องเล่าเกี่ยวกับอาชีพ, เรื่องเล่าของคนกับการปฏิบัติธรรม, เรื่องเล่าเกี่ยวกับการค้นพบตัวเอง, เรื่องเล่าเกี่ยวกับครอบครัว, เรื่องเล่าของคนข้ามเพศ, เรื่องเล่าเกี่ยวกับความรุนแรง, เรื่องเล่าเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางการเมือง, เรื่องเล่าเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม, เรื่องเล่าของคนไร้บ้าน และเรื่องเล่าของคนพลัดถิ่น เนื้อหาที่พบมากที่สุด คือ เรื่องเล่าเกี่ยวกับสุขภาพและสวัสดิการของรัฐครอบคลุมตั้งแต่เรื่องเล่าเกี่ยวกับความเจ็บป่วย เรื่องเล่าของผู้พิการ เรื่องเล่าเกี่ยวกับการรักษาสุขภาพ รวมถึงเรื่องเล่าเกี่ยวกับสวัสดิการที่ผู้เล่าได้รับจากรัฐ และเรื่องเล่าที่พบน้อยที่สุดคือ เรื่องเล่าของคนพลัดถิ่น ผลการศึกษาด้านรูปแบบของเรื่องเล่าพบว่า เรื่องเล่าเหล่านี้มีขนาดไม่ยาวนัก จำนวนย่อหน้าประมาณ 1– 8 ย่อหน้า ส่วนในด้านวิธีการเล่าเรื่อง ปรากฏ 2 วิธี ได้แก่ วิธีการเล่าคนเดียว และวิธีการเล่าแบบสนทนา มีลักษณะเป็นการพูดคุย วิธีที่พบมากที่สุดคือ การเล่าคนเดียว ผลการศึกษาด้านบทบาทหน้าที่ของเรื่องเล่าออนไลน์ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “มนุษย์กรุงเทพฯ” พบว่ามี 4 ประการ ได้แก่ บทบาทหน้าที่ในการให้สถานภาพทางสังคม บทบาทหน้าที่ในการบันทึกบทเรียนทางสังคม บทบาทหน้าที่ในการเป็นสื่อประชาสังคม และบทบาทหน้าที่ในการสร้างกำลังใจ เรื่องเล่าออนไลน์ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “มนุษย์กรุงเทพฯ” จึงถือเป็นเรื่องเล่าที่หลอมรวมความหลากหลายของผู้คนในสังคมเมือง ทั้งมิติทางสังคมและวัฒนธรรม เมื่อเผยแพร่ผ่านสื่อใหม่ จึงช่วยสร้างเสริมดุลยภาพแห่งความเป็นมนุษย์แก่สังคมไทยท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | เรื่องเล่าออนไลน์ | th |
dc.subject | เฟซบุ๊กแฟนเพจ | th |
dc.subject | มนุษย์กรุงเทพฯ | th |
dc.subject | online narrative stories | en |
dc.subject | Facebook Fanpage | en |
dc.subject | Manuch Krungthep | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Online Narrative Stories in Facebook Fanpage "Manuch Krungthep" | en |
dc.title | เรื่องเล่าออนไลน์ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “มนุษย์กรุงเทพฯ” | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
Appears in Collections: | Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59208308.pdf | 2.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.