Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSriwipa POOLPERMen
dc.contributorศรีวิภา พูลเพิ่มth
dc.contributor.advisorSITTISEDE POLWIANGen
dc.contributor.advisorสิทธิเศรษฐ์ พลเวียงth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Scienceen
dc.date.accessioned2019-08-06T06:47:19Z-
dc.date.available2019-08-06T06:47:19Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1933-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to develop the method of learning the probability by using the inquiry cycle (5E) learning package. The topic was part of the Mathayomsuksa 3. The inquiry cycle (5E) learning package consist of Engage, Explore, Explain, Elaborate, and Evaluate. The research tools were The Inquiry Cycle (5E) learning package, Evaluation test, and satisfactory questionnaire. The sample population was 41 students from Borkruwittaya school; Doem Bang Nang Buat District, Suphan Buri Province. The academic year was 2018. The results showed that the sample population achieved the score 87.37/73.05 which was higher than the standard (70/70) and more than 70% of the students passed the minimum requirement and got higher learning achievement than those who learned using conventional approach after they learned the probability with 5E package at the .05 level of significance. The satisfactory questionnaire showed that the students were highly satisfied with the learning method. In conclusion, The Inquiry Cycle (5E) learning package help sample population to understand the probability topic better than the typical teaching process.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70  2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) กับการจัดการเรียนการสอนแบบปกติ 3) สำรวจความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  เรื่อง ความน่าจะเป็น ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ่อกรุวิทยา อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 75 คน  แบ่งเป็นนักเรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 41 คน เรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) และกลุ่มควบคุม จำนวน 34 คน ที่เรียนแบบปกติ  ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ดำเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบการวิจัยกึ่งทดลอง ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ประกอบด้วย 5 ขั้น ได้แก่ 1) ขั้นสร้างความสนใจ 2) ขั้นสำรวจและค้นหา 3) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป  4) ขั้นขยายความรู้  5) ขั้นประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนตามแผนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 และสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ .05 นักเรียนที่ได้รับการเรียนการสอนโดยวิธีดังกล่าว มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ผลสรุปจากการศึกษาในครั้งนี้ พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) จะมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน เรื่อง ความน่าจะเป็นได้ดีขึ้นth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความน่าจะเป็นth
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th
dc.subjectprobabilityen
dc.subjectThe inquiry cycle (5E) learning packageen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.titleThe  development  of  mathematic achievement on  probability  using  inquiry cycle (5E)  for mathayomsuksa 3 of  Borkruwittaya school.en
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  โรงเรียนบ่อกรุวิทยาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57316316.pdf5.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.