Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1981
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pusida SINGHA | en |
dc.contributor | ภูษิดา สิงหะ | th |
dc.contributor.advisor | EK-KARACH CHAROENNIT | en |
dc.contributor.advisor | เอกราช เจริญนิตย์ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Music | en |
dc.date.accessioned | 2019-08-07T03:21:06Z | - |
dc.date.available | 2019-08-07T03:21:06Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1981 | - |
dc.description | Master of Music (M.Mus) | en |
dc.description | ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to study background of the pieces and solve the technical problems in playing violin, to improve music performance. The research gather various violin techniques and methods from textbook and an interviews from professionals. The researcher selected 3 pieces that have same techniques but have difference way of practicing as follow 1. Concerto in G Major, K.216, composed by Wolfgang Amadeus Mozart 2.Czardas, composed by Monti Vitorio and 3.Five pieces for two Violins composed by Dmitri Shostakovich. All these 3 pieces are famous pieces from various era. The study comprised of collecting history background’s information, musical forms, addressing playing problem, and how to solve problems for rehearse. By the main problem, the researcher has main 4 problems founds as follow 1. A problem about connecting many sixteenth notes 2.A problem about trill technique 3.A problem about shifting technique and 4. A problem about string crossing technique. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาการแสดงเดี่ยวไวโอลิน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทเพลงและวิธีการซ้อมเทคนิคต่างๆในบทเพลง เพื่อแก้ไขปัญหาที่พบในการบรรเลงเทคนิค การซ้อม และการบรรเลงเทคนิคให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยทำการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเล่นเทคนิคนั้น การฝึกซ้อม และการแก้ไขปัญหาจากหนังสือ ผู้เชี่ยวชาญ และบทความที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงนำข้อมูลที่ได้มาปรับใช้ โดยผู้วิจัยได้ทำการคัดเลือก 3 บทเพลงมาศึกษา โดยเลือกบทเพลงที่มีเทคนิคการบรรเลงตามที่ต้องการศึกษาแต่มีวิธีการซ้อมในแต่ละบทเพลงที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1. Concerto in G Major, K.216 ประพันธ์โดย วูล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ท (W.A.Mozart) 2. Czardas ประพันธ์โดย มอนตี วิทโทริโอ (Monti Vitorio) และ 3. Five pieces for two Violins ประพันธ์โดย ดมิทรี ชอสตาโกวิช (Dmitri Shostakovich) ซึ่งผู้วิจัยได้นำเสนอประวัตินักประพันธ์ ประวัติบทเพลง สังคีตลักษณ์ เทคนิค ปัญหาที่พบ วิธีการในการแก้ปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทางการฝึกซ้อมในแต่ละบทเพลง โดยผู้วิจัยได้รวบรวมเทคนิคที่มีปัญหาแบ่งออกเป็น 4 ข้อหลักดังนี้ 1. ปัญหามือซ้ายและมือขวาในการเล่นโน้ตเขบ็ตสองชั้นในบทเพลงได้ไม่ต่อเนื่องกัน 2. ปัญหาการไม่ต่อเนื่อง มีเสียงสะดุด และไปไม่ถึงโน้ตที่ต้องการจากการชิฟติงในบทเพลง 3. ปัญหาการเกิดเสียงรบกวนและการกระแทกจากการข้ามสายในบทเพลง และ 4. ปัญหาการไม่สามารถควบคุมนิ้วให้เล่นเทคนิคทริลอยู่ในจังหวะที่กำหนดภายในบทเพลง | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | การฝึกซ้อมไวโอลิน | th |
dc.subject | เทคนิคการบรรเลงไวโอลิน | th |
dc.subject | การแสดงดนตรี | th |
dc.subject | Violin practicing | en |
dc.subject | Violin playing technique | en |
dc.subject | Musical performance | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Graduate Violin Recital | en |
dc.title | การแสดงเดี่ยวไวโอลินระดับมหาบัณฑิต | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Music |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60701321.pdf | 2.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.