Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1988
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPatarporn IAMVIRIYAWATen
dc.contributorภัทร์อาภรณ์ เอี่ยมวิริยาวัฒน์th
dc.contributor.advisorSanthipharp Khamsa-arden
dc.contributor.advisorสันติภาพ คำสะอาดth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:25:05Z-
dc.date.available2019-08-07T03:25:05Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1988-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this study were 1) to study about the basic information and potential of creative tourism resources of BanPhuNamRon, DanChang District, Suphanburi Province; 2) to draft a strategic proposal to raise the level of creative tourism in BanPhuNamRon, DanChang District, Suphanburi Province And; 3) to present and certify the strategy to elevate the community to creative tourism of BanPhuNamRon, DanChang District, Suphanburi Province. The study was a qualitative research that use in–depth interview together with policy research and EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) future research technique. The instruments used were in-depth interview of 14 interviewees and 18 of the experts to assess, examine the importance and the suitability of the strategy, target strategy and operation. The findings indicated that (1) The basic information and potential of creative tourism resources of BanPhuNamRon, DanChang District, Suphanburi Province which are tourist attractions that can be developed into creative tourism sites. (2) Strategies to raise the community to creative tourism of BanPhuNamRon, DanChang District, Suphanburi Province has a vision of being a community model of creative tourism management and to continue the Thai virtuous culture also, sustainable natural capital by adhering to the principles of participation consisting of 4 strategic issues were 1) Creating patterns from economic development and economic wisdom in order to add value and worth from the community identity based to creative tourism 2) Develop marketing strategies to create tourists' awareness of the community in creative tourism. 3) Tourism links between communities and networks to increase the duration of stay through the upgrading of tourism activities 4) Develop personnel development, knowledge development in the community as well as support participation in creative tourism development (3) Policy proposals of the strategy to enhance the community to creative tourism and, certified by stakeholders. Based on the major findings, it was recommended that this research will benefit for organizations and agencies that involved in tourism and they can use the information from this research to make a great benefit to tourism community also, can be a model for other communities in term of self-development both tourism and conservation in order to achieve sustainability within the community in the future.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ของชุมชนบ้านพุน้ำร้อน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี  2) ร่างข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนบ้านพุน้ำร้อน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี และ 3) นำเสนอและรับรองยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับชุมชนสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนบ้านพุน้ำร้อน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกร่วมกับการวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research) และเทคนิคการวิจัยเชิงอนาคตแบบ EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research) เครื่องมือที่ใช้คือการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 14 คน และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 18 คน เพื่อร่วมประเมินตรวจสอบความสำคัญและความเหมาะสมของยุทธศาสตร์ กลยุทธ์เป้าหมาย และการดำเนินงาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ข้อมูลพื้นฐานและศักยภาพทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนบ้านพุน้ำร้อน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี คือ มีแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (2) ยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับชุมชนสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ของชุมชนบ้านพุน้ำร้อน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี มีวิสัยทัศน์ คือชุมชนต้นแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และอนุรักษ์ รักษาประเพณี วัฒนธรรม ทุนธรรมชาติอย่างยั่งยืน โดยยึดหลักการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) การสร้างรูปแบบจากการพัฒนาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาในเชิงเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มคุณค่าและมูลค่าจาก ฐานอัตลักษณ์ของชุมชน สู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 2) พัฒนากลยุทธ์การตลาดเพื่อสร้างการรับรู้ของนักท่องเที่ยวที่มีต่อชุมชนในด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 3) การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างชุมชนและเครือข่ายเพื่อเพิ่มระยะเวลาพำนัก ผ่านการยกระดับกิจกรรมการท่องเที่ยว 4) การพัฒนาบุคลากร องค์ความรู้ในชุมชนและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (3) ข้อเสนอเชิงนโยบายของยุทธศาสตร์เพื่อยกระดับชุมชนสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ผ่านการรับรองจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประโยชน์จากงานวิจัยนี้ ทำให้องค์การและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการท่องเที่ยว สามารถนำข้อมูลที่ได้มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ชุมชนในด้านการท่องเที่ยวและสามารถเป็นต้นแบบให้กับชุมชนอื่นในการ วางแนวทางการพัฒนาตนเองทั้งด้านการท่องเที่ยว และ ด้านการอนุรักษ์ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนภายในชุมชนได้ ในอนาคตth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการพัฒนายุทธศาสตร์/ การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์/ ชุมชนบ้านพุน้ำร้อนth
dc.subjectSTRATEGY DEVELOPMENT/CREATIVE TOURISM/PHUNAMRON COMMUNITYen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleSTRATEGY DEVELOPMENT FOR COMMUNITY ELEVATION TO CREATIVE TOURISM OF BANPHUNAMRON DANCHANG DISTRICT SUPHANBURI PROVINCE THAILANDen
dc.titleการพัฒนายุทธศาสตร์เพื่อยกระดับชุมชนสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ของชุมชนบ้านพุน้ำร้อน อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56604926.pdf5.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.