Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2003
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorApinya KITKERDSAENGen
dc.contributorอภิญญา กิจเกิดแสงth
dc.contributor.advisorSAWANYA THAMMAAPIPONen
dc.contributor.advisorสวรรยา ธรรมอภิพลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:25:07Z-
dc.date.available2019-08-07T03:25:07Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2003-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThis research aims of this study was to explore behavioral and knowledge in electronics waste management as well as study information received in electronics waste management disposal of local community at Huapoa Sub-district, Ratchaburi Province. The study was conducted using quantitative research method and data collection using questionnaire. Population selected for this study were residents of 320 households at Huapoa Sub-district, Bangpae District, Ratchaburi Province. Derived data was subjected to analysis with statistic percentage, frequency and standard deviation. The study found most of samples, were female (63.44%), aged 63-50 yrs. (34.38%), marriage status (48.75%), bachelor's degree or higher (38.74%), employee (22.50%), income per month 10,000-20,000 baht (30.00%), 2-3 household members  (44.06%), behavioral in electronics waste management at moderate, having the Mean 3.21, with the most behavioral in reducing electronics waste, recycle and collecting in electronics waste. (= 4.01, 3.20, 3.07) regarding knowledge, overall, majority of samples had high level of knowledge (77.81%). Samples knew most on general knowledge that is the recycle of electronic waste. In the perception area, the finding indicated samples received information in electronics waste management at moderate level, the most perception via television and internet, having the Mean 2.63.  This study suggests educating persons more on electronics waste management, motivating. The division involved should rally and motivate each household to start separating waste appropriately via the most accessible approach, namely television, social media and newspaper. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรม และความรู้ของประชาชนในการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์  และศึกษาการรับรู้ข่าวสารของประชาชนในการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์กรณีศึกษาชุมชน  ตำบลหัวโพ จังหวัดราชบุรี ดำเนินการศึกษาโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ และใช้แบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างที่เป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลหัวโพ อำเภอบางแพ จังหวัดราชบุรีจำนวน 320 ครัวเรือน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ(Percentage)  สถิติแจกแจงความถี่(Frequency) และส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ63.44   อายุ 36-50ปี ร้อยละ 34.38 สถานภาพสมรส ร้อยละ 48.75 การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ร้อยละ 38.74 อาชีพรับจ้างทั่วไป ร้อยละ 22.50 รายได้เฉลี่ย 10,000 - 20,000 บาท ร้อยละ 30.00 มีสมาชิกในครัวเรือน2 - 3 คน  ร้อยละ 44.06 ผลการศึกษาพฤติกรรมในการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.21 โดยพฤติกรรมด้านการลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านการนำขยะอิเล็กทรอนิกส์กลับมาใช้ใหม่ และด้านการเก็บรวบรวมขยะอิเล็กทรอนิกส์ตามลำดับ (= 4.01, 3.20, 3.07)  ผลการศึกษาความรู้ในการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์พบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้ในการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยรวมในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 77.81 โดยด้านที่กลุ่มตัวอย่างมีความรู้มากที่สุด คือ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ และด้านที่กลุ่มตัวอย่างมีความรู้น้อยที่สุด คือ การนําขยะอิเล็กทรอนิกส์กลับมาใช้ใหม่ ผลการศึกษาด้านการรับรู้พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.63 โดยได้รับรู้จากโทรทัศน์และสื่ออินเตอร์เน็ตมากที่สุด ข้อเสนอแนะจากการศึกษาวิจัยนี้ ควรให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ โดยการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีการรณรงค์ส่งเสริม สร้างแรงจูงใจให้แต่ละครัวเรือนเป็นจุดเริ่มต้น และช่วยกันคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างถูกต้องผ่านช่องทางที่หลากหลายและประชาชนเข้าถึงมากที่สุด ได้แก่ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต/โซเชียลมีเดีย หนังสือพิมพ์th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์/พฤติกรรม/ความรู้th
dc.subjectElectronic Waste Management / Behavior/ Knowledgeen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleBehavior and knowledge of people in electronic waste management A case study of Huapoa Sub-district, Ratchaburi Provinceen
dc.titleพฤติกรรมและความรู้ของประชาชนในการจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์กรณีศึกษา ตำบลหัวโพ จังหวัดราชบุรีth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58601315.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.