Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2005
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanrayanee NAEOHAENGTHAMen
dc.contributorกัลยาณี แนวแห่งธรรมth
dc.contributor.advisorTHIRAWAT CHANTUKen
dc.contributor.advisorธีระวัฒน์ จันทึกth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:25:07Z-
dc.date.available2019-08-07T03:25:07Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2005-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to a Study need assessment. And to provide guidelines for the service of the railway project High speed in the future Case Study of Bangkok - Hua Hin route. This research was the Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR). It was based on the fourth methodology steps as follows: First Researchers (Netnography) synthesize information from websites and articles. Second, Use EDFR future research tools to collect interview data in the first round. and The data collected in the first round was analyzed and questionnaires were prepared. Third, Content validity analysis with EDFR future research techniques using Fleiss Kappa. And Fourth, Write a picture of the future. The 17 key informants were executive administrators or Academic, Staff have knowledge or work related to the train. The research tools used interview and questionnaires. The statistics used for analyzing the collected data were basic statistics frequency, median, and interquartile range and Fleiss Kappa. The research results were as follows: Study need assessment of service provision hight - speed rail in the future a case study Bangkok - huahin. consisted of 3 main elements of the Demand needs, service implementation guidelines, Expectations service operation guidelines and Concerns about the pattern of service operation in the future guidelines including with 8 elements and 23 Guidelines. And the consistency of the risk indicators was substantial (Fleiss Kappa = 0.810)en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สำคัญ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นเพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานให้บริการรถไฟความเร็วสูงในอนาคตกรณีศึกษาเส้นทางกรุงเทพฯ - หัวหิน 2) เพื่อเสนอแนวทางในการให้บริการของโครงการรถไฟความเร็วสูงในอนาคต กรณีศึกษา เส้นทางกรุงเทพฯ - หัวหิน โดยการประยุกต์ใช้วิธีการแบบการวิจัยอนาคต EDFR หรือ Ethnographic Delhi Future Research (EDFR) มีวิธีดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ผู้วิจัยทำการศึกษา (Netnography) สังเคราะห์ข้อมูลจากเว็บไซต์และเอกสาร บทความ ขั้นตอนที่ 2 ใช้เครื่องมือเทคนิคการวิจัยอนาคตแบบ EDFR ในการเก็บข้อมูลการสัมภาษณ์ในรอบแรก และนำข้อมูลที่ได้ในรอบแรกมาวิเคราะห์สร้างแบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงเนื้อหากับเทคนิคการวิจัยอนาคตแบบ EDFR โดยใช้ฟลีสแคปปา (Fleiss Kappa) ขั้นตอนที่ 4 เขียนภาพอนาคต กำหนดให้ผู้เชี่ยวชาญ คือ กลุ่มผู้บริหารหรือนักวิชาการ และเจ้าหน้าที่หรือพนักงาน ที่มีความรู้หรือทำงานเกี่ยวข้องกับการรถไฟ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยร้อยละมัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์ และ Fleiss Kappa ผลวิจัยพบว่า ความต้องการจำเป็นแนวทางการดำเนินงานให้บริการรถไฟความเร็วสูง ในอนาคต กรณีศึกษาเส้นทางกรุงเทพฯ - หัวหิน มี 3 องค์ประกอบหลัก คือ ด้านความต้องการจำเป็นแนวทางการให้บริการ ด้านความคาดหวังการให้บริการและแนวทางดำเนินการ ด้านความกังวลด้านการให้บริการและแนวทางดำเนินการในอนาคต ซึ่งในแต่ละองค์ประกอบหลักมีองค์ประกอบย่อยทั้งหมด 8 ด้าน และ 23 แนวทาง โดยมีค่าความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก (Fleiss Kappa = 0.810)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectรถไฟความเร็วสูงth
dc.subjectความต้องการจำเป็นth
dc.subjectแนวทางการให้บริการth
dc.subjectHIGH - SPEED RAILen
dc.subjectNEED ASSESSMENTen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleA STUDY NEED ASSESSMENT OF SERVICE PROVISION HIGHT - SPEED RAIL IN THE FUTURE A CASE STUDY BANGKOK - HUAHIN ROUTEen
dc.titleการศึกษาความต้องการจำเป็นแนวทางการดำเนินงานให้บริการรถไฟความเร็วสูงในอนาคต กรณีศึกษาเส้นทางกรุงเทพฯ - หัวหินth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58602302.pdf3.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.