Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2038
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPiya SEAMTONGen
dc.contributorปิยะ เสียมทองth
dc.contributor.advisorCHUANCHUEN AkKAWANITCHAen
dc.contributor.advisorชวนชื่น อัคคะวณิชชาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:25:13Z-
dc.date.available2019-08-07T03:25:13Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2038-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThis study aims to investigate 1) the level of job autonomy, training, self-efficacy, goal commitment, and job performance and 2) the impact of  job autonomy, training, self-efficacy on goal commitment and subsequently lead to job performance.. The quantitative research method is employed. The samples are 465 employees in the Provincial Electricity Authority employees (Central Area). A questionnaire is used as instrument to collect data with a   5 points scale. Data is analyzed by using the structural equation  modeling. The results show that the respondents are male (57.6%)  and female (42.4%). Most of them are between 31-40 years old (42.2%), their education is bachelor degree (66.2%) and their income range between 15,001-25,000 baht (33.5%). Moreover, the findings reveal that job autonomy, training, self-efficacy, goal commitment, job performance of employees are at high level. The results of hypotheses testing have found that job autonomy, training and self-efficacy have a positive impact on goal commitment. Furthermore, goal commitment is positively influenced on job performance.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความมีอิสระในการปฏิบัติงาน การฝึกอบรม การรับรู้ความสามารถของตนเอง การยึดมั่นเป้าหมายในการทำงาน และผลการปฏิบัติงาน 2) ศึกษาอิทธิพลของความมีอิสระในการปฏิบัติงาน การฝึกอบรม และการรับรู้ความสามารถของตนเอง ที่มีต่อการยึดมั่นเป้าหมายในการทำงาน และ 3) ศึกษาอิทธิพลของการยึดมั่นเป้าหมายในการทำงาน ที่มีต่อผลการปฏิบัติงาน งานวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบเชิงปริมาณ โดยทำการศึกษากับพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ภาคกลาง) จำนวน 465 คน สุ่มตัวอย่างแบบโควตา และจากนั้นจึงใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างตามความสะดวก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามที่ใช้มาตราส่วน 5 ระดับในการวัด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(ภาคกลาง) แบ่งเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 57.6 เพศหญิง ร้อยละ 42.4 โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 42.2 ระดับการศึกษาปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 66.2 และส่วนใหญ่มีรายได้อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 33.5 ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความมีอิสระในการปฏิบัติงาน การฝึกอบรม การรับรู้ความสามารถของตนเอง การยึดมั่นเป้าหมายในการทำงาน ผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ความมีอิสระในการปฏิบัติงาน การฝึกอบรม และการรับรู้ความสามารถของตนเองมีอิทธิพลเชิงบวกต่อการยึดมั่นเป้าหมายในการทำงาน นอกจากนี้การยึดมั่นเป้าหมายในการทำงาน มีอิทธิพลเชิงบวกต่อผลการปฏิบัติงานth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความมีอิสระในการปฏิบัติงานth
dc.subjectการฝึกอบรมth
dc.subjectการรับรู้ความสามารถของตนเองth
dc.subjectการยึดมั่นเป้าหมายในการทำงานth
dc.subjectผลการปฏิบัติงานth
dc.subjectJob Autonomyen
dc.subjectTrainingen
dc.subjectSelf-Efficacyen
dc.subjectGoal Commitmenten
dc.subjectJob Performanceen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleThe Antecedents and Consequence of Goal Commitment of Provincial Electricity Authority (Central Area) Employeesen
dc.titleปัจจัยเหตุและผลลัพธ์ของการยึดมั่นต่อเป้าหมายของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ภาคกลาง)th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59602351.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.