Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2063
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupee DOWRUANGen
dc.contributorสุพีร์ ดาวเรืองth
dc.contributor.advisorChuanchuen Akkawanitchaen
dc.contributor.advisorชวนชื่น อัคคะวณิชชาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Management Sciencesen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:25:16Z-
dc.date.available2019-08-07T03:25:16Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2063-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this study are 1) to examine the influence of environmental concern on intention to participate in environmental activity and subsequently lead to organizational citizenship behavior for environment which are in line with theory of planned behavior and 2) to investigate the behavioral spillover effect which disperse from environmental supportive behavior and private lifestyle to organizational citizenship behavior for environment which is consistent with the spillover theory. The samples are 358 employees of small and medium hotel in Cha Am district, Phetchaburi province and Hua Hin district, Prachuap Khiri Khan province. A questionnaire is used as an instrument to collect data. The statistics used for analyzing data are percentage, frequencies, mean, standard deviation, confirmatory factor analysis (CFA), Pearson’s correlation, including the structural equation modelling is employed for hypotheses testing. The results are revealed that the majority of respondents are female with age ranges between 21-30 years old, the education is undergraduate, the income is between 10,001-15,000 baht and their working experience are 1-5 years. The mean of environmental concern, intention to participate in environmental activity, supportive behavior, private lifestyle behavior and organizational citizenship behavior for the environment are at the high level. In addition, the hypotheses testing is found that environmental concern of hotel’s employees has a positive impact on intention to participate in environmental activity and subsequently leads to organizational citizenship behavior for the environment, including the environmental concern is positively related to environmental supportive behavior and private lifestyle behavior. Moreover environmental supportive Behavior and private lifestyle behavior have a positive spillover effects on organizational citizenship behavior for the environment.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาอิทธิพลของความกังวลต่อสิ่งแวดล้อมที่มีต่อความตั้งใจในการเข้าร่วมกิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อมและนำไปสู่การเป็นการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องการรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน และ 2) เพื่อศึกษาการไหลล้นทางพฤติกรรมจากพฤติกรรมการสนับสนุนสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัวไปยังพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องรักษ์สิ่งแวดล้อมตามแนวคิดทฤษฎีการไหลล้น กลุ่มตัวอย่างของงานวิจัยนี้คือพนักงานของธุรกิจโรงแรมและที่พักขนาดกลางและขนาดเล็ก ในอำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 358 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าทางสถิติ ร้อยละ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และทดสอบสมมติฐานด้วยโมเดลสมการโครงสร้าง ผลจากการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 – 30 ปี ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 15,000 บาท อายุงานอยู่ในช่วงระหว่าง 1 – 5 ปี และพนักงานส่วนใหญ่ปฏิบัติงานอยู่ในโรงแรมและที่พักขนาดเล็ก โดยระดับความคิดเห็นของความกังวลต่อสิ่งแวดล้อม ความตั้งใจที่จะเข้าร่วมในกิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม พฤติกรรมการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อม พฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัว และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องการรักษ์สิ่งแวดล้อม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าความกังวลต่อสิ่งแวดล้อมของพนักงานโรงแรมส่งผลเชิงบวกต่อความตั้งใจที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมรักษ์สิ่งแวดล้อม และนำไปสู่พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องการรักษ์สิ่งแวดล้อม รวมถึงความกังวลต่อสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลเชิงบวกต่อพฤติกรรมการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัว นอกจากนี้ พฤติกรรมการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัวไหลล้นเชิงบวกไปยังพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องการรักษ์สิ่งแวดล้อมในที่ทำงาน th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องการรักษ์สิ่งแวดล้อมth
dc.subjectการไหลล้นพฤติกรรมth
dc.subjectทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนth
dc.subjectพฤติกรรมการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมth
dc.subjectพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัวth
dc.subjectOrganizational Citizenship Behavior for the Environmenten
dc.subjectBehavioral Spilloveren
dc.subjectTheory of Planned Behavioren
dc.subjectEnvironmental Supportive Behavioren
dc.subjectPrivate Lifestyle Behavioren
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleOrganizational Citizenship Behavior for the Environment: The Spillover Effects of Private Lifestyle on Work-Lifeen
dc.titleพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเรื่องการรักษ์สิ่งแวดล้อม: ผลกระทบของการไหลล้นจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตส่วนตัวไปสู่การทำงานth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60602712.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.