Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2109
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPreedee MAPAISANSINen
dc.contributorปรีดี มาไพศาลสินth
dc.contributor.advisorCHOOSAK PORNSINGen
dc.contributor.advisorชูศักดิ์ พรสิงห์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Engineering and Industrial Technologyen
dc.date.accessioned2019-08-07T03:31:57Z-
dc.date.available2019-08-07T03:31:57Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2109-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of making decision-making tools To solve various problems of entrepreneurs, both in terms of quantity problems that are insufficient to meet the customer demand and the supplies, resulting in higher costs. The researcher, using engineering tools, selection methods such as estimation techniques, integrated production planning, and warehouse management. In terms of estimates. Namely, Winter’s method (Monthly and quarterly adjustment), Seasonal index methods and Moving average methods (3-month and quarterly estimated) mean absolute deviation (MAD), mean squared error (MSE) and average percentage error (MAPE). The result shows that the average method is the appropriate method. In the production planning and research, the Solver function is able to calculate the production cost From the calculation of production cost, the result shows that the cost is less compared to the previous year, an average of 9.08% and 10.56% respectively. Therefore, this is another way to allow managers to set policies, to meet the customer requirements appropriately.en
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเครื่องมือช่วยตัดสินใจในการวางแผนการผลิตรวมและการบริหารคลังสินค้าของโรงงานผลิตตัวอย่างฟองเต้าหู้ เพื่อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของผู้ประกอบการ ทั้งในส่วนของปัญหาทางด้านปริมาณผลผลิตที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าและปริมาณผลผลิตมีมากเกินกว่าความต้องการของลูกค้า ทำให้เกิดต้นทุนที่สูงเกินความจำเป็น ทั้งนี้เป็นผลมาจากกระบวนการวางแผนการผลิตที่ยังไม่เป็นระบบและกระบวนการผลิตที่ต้องใช้ความชำนาญสูง ผู้วิจัยจึงได้ใช้เลือกเครื่องมือทางวิศวกรรมการผลิต ได้แก่ เทคนิคกาประมาณการความต้องการ การวางแผนการผลิตรวมและการบริหารคลังสินค้า โดยในส่วนของการประมาณการผู้วิจัยเลือกเปรียบเทียบเทคนิคการประมาณการ 3 วิธี ได้แก่ วิธีการประมาณการของวินเทอร์รายเดือนและรายไตรมาส วิธีการปรับค่าประมาณการด้วยอิทธิพลผลฤดูกาลรายไตรมาส วิธีการประมาณการโดยวิธีหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ราย 3 เดือนและรายไตรมาส พร้อมทั้งหาค่าความคลาดเคลื่อนของค่าประมาณการโดยใช้ดัชนี 3 ชนิด คือ ค่าเฉลี่ยการเบี่ยงเบนสัมบูรณ์ (MAD) ค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนยกกำลังสอง (MSE) และค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนร้อยละสัมบูรณ์ (MAPE) พบว่า ผลการประมาณการจากวิธีหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 3 เดือนเป็นวิธีการที่เหมาะสม เนื่องจากมีแนวโน้มค่าความคลาดเคลื่อนการประมาณการต่ำที่สุด และในส่วนของการวางแผนการผลิตรวมและการบริหารคลังสินค้าผู้วิจัยเลือกใช้โปรแกรม Microsoft Excel พบว่า ฟังก์ชั่น Solver สามารถคำนวณต้นทุนในการผลิตสินค้าและค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อวัตถุดิบได้ค่าน้อยที่สุดตามที่ได้กำหนดในเงื่อนไข ซึ่งจากผลการคำนวณต้นทุนการผลิตและการสั่งซื้อวัตถุดิบด้วยวิธีการดังกล่าวนั้นน้อยกว่าต้นทุนเมื่อเทียบจากปีที่ผ่านมาเฉลี่ย 9.08 % และ 10.56 % ตามลำดับ ถือว่าเป็นอีกหนึ่งวิธีที่จะทำให้ผู้ประกอบการสามารรถกำหนดนโยบายการบริหารและเลือกตัดสินใจได้ และเพื่อการใช้งานได้อย่างสะดวก ผู้วิจัยได้ออกแบบระบบการจัดการอย่างง่ายให้ผู้ประกอบการ สำหรับการเก็บข้อมูลและใช้ในการจัดการการผลิตและควบคุมปริมาณสินค้า เพื่อตอบสนองความต้องการสินค้าของลูกค้าได้อย่างเหมาะสมth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectฟองเต้าหู้th
dc.subjectการวางแผนการผลิตรวมth
dc.subjectการบริหารคลังสินค้าth
dc.subjectTofu Skinen
dc.subjectAggregate Planning Productionen
dc.subjectWarehouse Managementen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleDESIGNING DECISION-MAKING TOOLS FOR AGGREGATE PLANNING AND WAREHOUSE MANAGEMENT CASE STUDY OF TOFU SKIN PLANTen
dc.titleการออกแบบเครื่องมือช่วยในการตัดสินใจ  สำหรับการวางแผนการผลิตรวมและการบริหารคลังสินค้า  กรณีศึกษาโรงงานฟองเต้าหู้ตัวอย่างth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60405306.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.