Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2156
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattanapakorn LEELAPRUTEen
dc.contributorพัฒนปกรณ์ ลีลาพฤทธิ์th
dc.contributor.advisorTonkao Paninen
dc.contributor.advisorต้นข้าว ปาณินท์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2019-08-07T06:30:21Z-
dc.date.available2019-08-07T06:30:21Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2156-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractFrom Classical Architecture to Modern Architecture, the "Balance" has much influenced and play the important roles in term of paradigm evolution. Each era of architecture has own identity, which reflect to its value of balance in both Symmetrical Balance and Asymmetrical Balance The change of Symmetrical plan to Asymmetrical plan has shown obviously in the construction of its Space and Form, which impact to the functional perception and meaning of plan in architecture. The limitation and different between 2D plan and 3D regarding to human perception lead to the research that How is the perception process of Asymmetrical plan in architecture? The study had been focusing on answering questions and objectives of the research by analyze case studies of Asymmetrical plan. There are four types of plans, total of 8 buildings, bring to study in this research from both residential building and public building. The analytical methodology starts from physical of plan, perception of space, architectural promenade and montage of plan in architecture. The research result leads to the finding in format of Asymmetrical plan, perception of Asymmetrical plan in architecture and the meaning of Balance of awareness. This will help to create the understanding of human towards plan in architecture in term of physical and image, as human also has interaction with the Spatial in architecture.en
dc.description.abstractอิทธิพลเรื่อง “ความสมมาตร” ในงานสถาปัตยกรรม เป็นกรอบความคิดเกี่ยวกับสุนทรียศาสตร์ที่มีความสำคัญและมีวิวัฒนาการทางกระบวนทัศน์ของสถาปนิกมาอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่สถาปัตยกรรมคลาสสิก จนถึงสถาปัตยกรรมโมเดิร์น โดยสถาปัตยกรรมในแต่ละยุคสมัยได้สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าความสำคัญของความสมดุลทั้งในรูปแบบของความสมดุลแบบสมมาตรและความสมดุลแบบอสมมาตร การเปลี่ยนแปลงของผังพื้นสมมาตรสู่ผังพื้นอสมมาตร ได้สะท้อนผ่านออกมายังการก่อรูปของที่ว่างและรูปทรง ในงานสถาปัตยกรรม ซึ่งมีผลกับมนุษย์เกี่ยวกับการรับรู้บทบาทหน้าที่ใช้สอยและการสื่อสารความหมายของผังพื้นในงานสถาปัตยกรรม ปัญหาของข้อจำกัดทางด้านความแตกต่างระหว่างความเป็น 2 มิติของผังพื้นกับการรับรู้ของมนุษย์ที่มีลักษณะเป็น 3 มิติ จึงนำไปสู่คำถามของงานวิจัยว่า กระบวนการรับรู้ผังพื้นอสมมาตรในงานสถาปัตยกรรมเป็นอย่างไร? กระบวนการศึกษามุ่งเน้นไปที่การตอบคำถามและวัตถุประสงค์ของงานวิจัย ด้วยการวิเคราะห์กรณีศึกษาผังพื้นอสมมาตรทั้ง 4 รูปแบบ จากประเภทอาคารที่พักอาศัยและประเภทอาคารสาธารณะ รวมทั้งสิ้น 8 อาคาร ด้วยการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของผังพื้นในงานสถาปัตยกรรม วิเคราะห์การรับรู้ที่ว่าง วิเคราะห์การเคลื่อนที่ในงานสถาปัตยกรรม และวิเคราะห์การปะติดปะต่อ ภาพรวมของผังพื้นในงานสถาปัตยกรรม ผลการวิจัยนำไปสู่การค้นพบ รูปแบบของผังพื้นอสมมาตร ค้นพบกระบวนการรับรู้ผังพื้นอสมมาตรในงานสถาปัตยกรรม และค้นพบความหมายของสมดุลทางการรับรู้ผังพื้นอสมมาตรในงานสถาปัตยกรรม เพื่อสร้างความเข้าใจของมนุษย์ที่มีต่อผังพื้นในงานสถาปัตยกรรม ในเชิงของการรับรู้ทางกายภาพและทางจินตภาพ สู่การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับที่ว่างในงานสถาปัตยกรรมth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสมดุลth
dc.subjectอสมมาตรth
dc.subjectการรับรู้th
dc.subjectผังพื้นth
dc.subjectการเคลื่อนที่ในงานสถาปัตยกรรมth
dc.subjectการปะติดปะต่อth
dc.subjectBalanceen
dc.subjectAsymmetryen
dc.subjectPerceptionen
dc.subjectPlanen
dc.subjectArchitectural Promenadeen
dc.subjectMontageen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleAsymmetrical Balance: Transformation from Symmetrical to Asymmetrical Architectureen
dc.titleความสมดุลทางอสมมาตร: การเปลี่ยนแปลงความสมมาตรสู่ความอสมมาตรในงานสถาปัตยกรรมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58054903.pdf20.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.