Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2167
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNorapat BOONPAUNGen
dc.contributorนรภัทร บุญพวงth
dc.contributor.advisorNantapon Junngurnen
dc.contributor.advisorนันทพล จั่นเงินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2019-08-07T06:30:31Z-
dc.date.available2019-08-07T06:30:31Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2167-
dc.descriptionMaster of Architecture (M.Arch)en
dc.descriptionสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.)th
dc.description.abstractThe thesis has studied about functional space in order to understand the feature of those spaces and to make spaces to connect and combine more than in the past. Therefore, thesis aims to find the possibility of shared space with the different functions.                 First of all finding the relations between different function by various conditions for example, the time of space usage and atmosphere of space. The experimental design search for a similar space that can be able to connect, modify and shared spaces. In order to find the way in experimental design to shared space. The space of building to be able to respond the demand of space usage in different time.                 The experimental design of building that have shared space with different function, it has been found that the building can use more than before. Since more spaces are available. As result of adjusting the space to be able to use more than one and to be able to decrease and increase space in different time.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับพื้นที่ของประโยชน์ใช้สอยประเภทต่างๆ เพื่อทำความเข้าใจลักษณะของพื้นที่เหล่านั้น และทำให้พื้นที่ของประโยชน์ใช้สอยประเภทต่างๆ สามารถเชื่อมต่อหรือรวมกันได้มากกว่าที่เป็นอยู่ จึงทดลองหาความเป็นไปได้ในการใช้พื้นที่ร่วมกันของพื้นที่ที่มีประโยชน์ใช้สอยแตกต่างกัน            โดยหาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ของประโยชน์ใช้สอยประเภทต่างๆ ด้วยเงื่อนไขต่างๆ เช่น เวลาการใช้งาน ประเภทกิจกรรม บรรยากาศของพื้นที่ เป็นต้น เพื่อหาความคล้ายคลึงกันของพื้นที่ในประโยชน์ใช้สอยประเภทต่างๆ ที่จะสามารถเชื่อมต่อ ปรับเปลี่ยน หรือใช้พื้นที่ร่วมกันได้ เพื่อเป็นแนวทางในการทดลองออกแบบอาคารที่มีประโยชน์ใช้สอยหลายประเภทรวมอยู่ด้วยกัน โดยให้พื้นที่ของอาคารนั้นสามารถตอบสนองต่อความต้องการใช้งานประโยชน์ใช้สอยต่างๆ ของผู้คนในแต่ละช่วงเวลา           การทดลองออกแบบอาคารที่มีการใช้พื้นที่ร่วมกันของพื้นที่ที่มีประโยชน์ใช้สอยแตกต่างกันนั้นพบว่าช่วยทำให้อาคารมีระยะเวลาใช้งานที่มากขึ้นกว่าเดิม อีกทั้งพื้นที่ใช้สอยของอาคารเพิ่มมากขึ้น อันเป็นผลมาจากการปรับพื้นที่ให้สามารถใช้งานประโยชน์ใช้สอยได้มากกว่าหนึ่งประเภท ทำให้พื้นที่ของประโยชน์ใช้สอยแต่ละประเภทสามารถเพิ่มหรือลดพื้นที่ใช้สอยได้ตามเวลาที่ผู้คนต้องการใช้งานในแต่ละช่วงเวลาของอัน ทั้งยังทำให้ผู้คนที่มาใช้อาคารนี้ได้รับประสบการณ์ที่แตกต่างไปจากการใช้งานอาคารอื่นๆ อีกด้วยth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectใช้พื้นที่ร่วมกันth
dc.subjectประโยชน์ใช้สอยth
dc.subjectเวลาการใช้งานth
dc.subjectShared Spaceen
dc.subjectFunctionen
dc.subjectTime of useen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titlePossibility Of Shared Space With Different Functionen
dc.titleความเป็นไปได้ในการใช้พื้นที่ร่วมกันของพื้นที่ที่มีประโยชน์ใช้สอยแตกต่างกันth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59054201.pdf14.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.