Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWasin WISETSAKDEEen
dc.contributorวศิน วิเศษศักดิ์ดีth
dc.contributor.advisorSupitcha Tovivichen
dc.contributor.advisorสุพิชชา โตวิวิชญ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2019-08-07T06:31:47Z-
dc.date.available2019-08-07T06:31:47Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2180-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractCulture is one of the important factors that influences style of vernacular architecture. Therefore, interpretation of different architectural styles requires study and deep understanding on relation between human being and culture. Objective of the study on “Urban vernacular architecture: Case study on Subculture of Waste pickers and Reusable waste carrier” is to study and present subculture of wastes pickers and reusable waste carrier and to show relationship of subculture of wastes pickers and reusable waste carrier with urban vernacular architecture. Author of this research has designed theoretical framework as a research methodology to study subculture with 3 indicators: Identity, Commitment and Autonomy by applying both qualitative and quantitative research. The study combines the study of vernacular architecture with the study of sociology and anthropology. Main tool used in this research is survey, measure and non-participant observation. The study shows subculture of wastes pickers and reusable waste carrier reflected through relation between culture and urban vernacular architecture in accordance with 3 indicators of subculture theoretical framework as follows 1. Identity in profession, site of settlement and economic frontier distinguish from common public. 2. Commitment in profession which influences their lifestyle and 3. Autonomy both in behavior and economy For this reason, this research is a presentation of cultural factor which influences urban vernacular architecture and relation between culture and urban vernacular architecture, reveal value of subculture that affects attitude on cohabitation in diverse culture society and moreover, revision and adaptation challenge in introduction of “urban vernacular architecture study” and academic introduction to this type of field of study as well as bringing in new target for vernacular architecture study in Thai vernacular architecture which rarely mentioned for better comprehension and more convincing that will lead to academic dynamics on vernacular architecture to emerge further study.en
dc.description.abstractวัฒนธรรมเป็นหนึ่งในปัจจัยหลักในการกำหนดรูปแบบของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น การทำความเข้าถึงรูปแบบของสถาปัตยกรรมต่าง ๆ จึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาและทำความเข้าใจให้ถ่องแท้ถึงความสัมพันธ์ของมนุษย์กับวัฒนธรรม ในงานวิจัยเรื่อง “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมือง กรณีศึกษา วัฒนธรรมย่อยคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่า” มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาและแสดงออกถึงความเป็นวัฒนธรรมย่อยของคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่า และเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมย่อยคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่ากับสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมือง ระเบียบวิธีวิจัยหลักของการศึกษาวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้ออกแบบกรอบแนวคิดทฤษฎีในการศึกษาความเป็นวัฒนธรรมย่อยที่มีตัวชี้วัด 3 องค์ประกอบ ได้แก่ อัตลักษณ์ ความมุ่งมั่นและผูกพัน และอิสระแห่งตน โดยใช้ลักษณะการวิจัยแบบผสมผสานทั้งในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ซึ่งนำวิธีการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นบูรณาการร่วมกับการศึกษาทางสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา โดยใช้การสำรวจ การรังวัด และวิธีการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือหลัก ผลการศึกษาแสดงให้เห็นถึงความเป็นกลุ่มวัฒนธรรมย่อยของคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่า สะท้อนผ่าน ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมือง ตามกรอบแนวคิดทฤษฎีความเป็นวัฒนธรรมย่อยตามตัวชี้วัดทั้ง 3 ด้าน โดยแสดงออกผ่าน 1. อัตลักษณ์ที่แสดงออกในการประกอบอาชีพ พื้นที่ที่อยู่อาศัยและพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่โดดเด่น เฉพาะกลุ่มแตกต่างจากกลุ่มบุคคลทั่วไป 2. ความมุ่งมั่นและผูกพันในอาชีพที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต และ 3. ความมีอิสระแห่งตนทั้ง ในด้านพฤติกรรมและด้านเศรษฐกิจ การศึกษาวิจัยนี้จึงเป็นการนำเสนอถึงปัจจัยทางด้านวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมือง และความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมือง แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของวัฒนธรรมย่อยส่งผลสู่การสร้างทัศนะคติในการอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลายในสังคม นอกจากนั้นยังแสดงถึงการทบทวนและปรับตัวในการเปิดพื้นที่ทางวิชาการต่อการศึกษา “สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองศึกษา” เป็นความท้าทายและการบุกเบิกทางวิชาการ ในฐานะประเด็นพื้นที่ภาคสนาม รวมถึงกลุ่มเป้าหมายใหม่ที่นำมาสู่การศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในวงวิชาการสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นไทย ที่ยังมีการกล่าวถึงอยู่ไม่มากนักให้เกิดความเข้าใจและชัดเจนมากขึ้น นำไปสู่การพลักดันเพื่อให้เกิดพลวัตทางด้านวิชาการนำไปสู่งานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเพื่อสร้างสรรค์แนวทางการศึกษาต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมืองth
dc.subjectสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นth
dc.subjectวัฒนธรรมย่อยคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่าth
dc.subjectอัตลักษณ์th
dc.subjectความมุ่งมั่นและผูกพันth
dc.subjectอิสระแห่งตนth
dc.subjectสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วมth
dc.subjectการรังวัดth
dc.subjectVernacular architectureen
dc.subjectUrban vernacular architectureen
dc.subjectSubculture of Waste pickers and Reusable waste carrieren
dc.subjectIdentityen
dc.subjectCommitmenten
dc.subjectAutonomyen
dc.subjectNon-Participant Observationen
dc.subjectMeasureen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleUrban vernacular architecture: Case study on Subculture of Waste pickers and Reusable waste carrieren
dc.titleสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเมือง กรณีศึกษา วัฒนธรรมย่อยคนคุ้ยขยะและรับซื้อของเก่าth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56057802.pdf33.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.