Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2223
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSompong TECHARATANAWORAKULen
dc.contributorสมพงษ์ เตชรัตนวรกุลth
dc.contributor.advisorVorakarn Suksodkitwen
dc.contributor.advisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T03:08:29Z-
dc.date.available2019-08-08T03:08:29Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2223-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe research aimed to determine: 1) co-indicators of educational quality evaluation in secondary school, 2) guidelines for developing secondary school. The population of this research were 16 secondary schools by dividing the group (sampling group) according to the size of the secondary school from 4 regions of Thailand. The respondents were directors of secondary schools. The research instruments were survey questionnaires and opinionnaires. The statistics used for data analysis were frequency, percentage and content analysis. The findings of this study were as follows: 1. Co-indicator of educational quality evaluation in secondary schools are 472 indicators, classified by administration structure of the secondary schools, as follows: 1) 143 indicators of academic administration 2) 41 indicators of management budget, 3) 55 indicators of personnel management and 4) 233 indicators of general administration. 2. Guidelines of the development of educational administration of secondary schools were categorized by to the management structure as follows: 1) Academic affairs administration consisted of 8 aspects 2) Budget affairs administration consisted of 4 aspects 3) Personnel affairs administration consisted of 4 aspects and 4) General affairs administration consisted of 7 aspects.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบตัวบ่งชี้ร่วมของเกณฑ์การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) เพื่อทราบแนวทางการพัฒนางานของโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ร่วม ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย โรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 16 โรงเรียน โดยแบ่งกลุ่มตามขนาดของโรงเรียนมัธยมศึกษาจาก 4 ภูมิภาคของประเทศไทย กำหนดผู้ให้ข้อมูลคือ ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมศึกษาที่ได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเชิงสำรวจ แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา   ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวบ่งชี้ร่วมของเกณฑ์การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา มีทั้งสิ้น จำนวน 472 ตัวบ่งชี้ จำแนกตามโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนมัธยมศึกษาได้ ดังนี้ (1) การบริหารงานวิชาการ จำนวน 143 ตัวบ่งชี้ (2) การบริหารงานงบประมาณ จำนวน 41 ตัวบ่งชี้ (3) การบริหารงานบุคคล จำนวน 55 ตัวบ่งชี้ (4) การบริหารงานทั่วไป จำนวน 233 ตัวบ่งชี้ 2. แนวทางการพัฒนางานของโรงเรียนมัธยมศึกษาที่สอดคล้องกับตัวบ่งชี้ร่วม จำแนกตาม โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนมัธยมศึกษาได้ ดังนี้ (1) การบริหารงานวิชาการ ประกอบด้วย 8 แนวทาง (2) การบริหารงานงบประมาณ ประกอบด้วย 4 แนวทาง (3) การบริหารงานบุคคล ประกอบด้วย 4 แนวทาง (4) การบริหารงานทั่วไป ประกอบด้วย 7 แนวทางth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectตัวบ่งชี้th
dc.subjectเกณฑ์การประเมินth
dc.subjectโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.subjectINDICATORSen
dc.subjectEVALUATIONen
dc.subjectSECONDARY SCHOOLSen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE ANALYSIS OF QUALITY EVALUATION INDICATORS IN SECONDARY SCHOOLen
dc.titleการวิเคราะห์ตัวบ่งชี้เกณฑ์การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57252916.pdf5.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.