Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2230
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jumpon AUNGPET | en |
dc.contributor | จุมพล เอื้องเพ็ชร์ | th |
dc.contributor.advisor | SIRIWAN VANICHWATANAVORACHAI | en |
dc.contributor.advisor | ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-08-08T03:25:04Z | - |
dc.date.available | 2019-08-08T03:25:04Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2230 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to study the fundamental that of supports the development of package learning through by Historical method local Bongti for the students in prathomsuksa 5 to meet the efficiency criterion 80/80 2) to evaluate the efficiency of learning package by Learning Management of History for 30 students of the fifth grade who are study in the first semester in academic year 2018. The duration of research implementation was 20 weeks, 1 period per week. The research design was One Group Pretest-Posttest Design. The research instrument used are 1) The learning package on Learning Management of History with Bongti Local 2) the development of package learning through by Historical method local Bongti tests 3) evaluation form 4) mind evaluation of the development of package learning though by Historical method local Bongti form. The data are analyzed by percentage (%), mean (), standard deviation (S.D.) t-test dependent and content analysis. The result were as follow: 1. The students and other involved person agree with the importance of the development of package learning and want to develop the package learning what the student need to learn in their hometown and hope they will be a good personnel for create new knowledge and realize the value of local. 2. The result development of the package learning was achievement test score after using package learning was statistically higher than before using at signification of .01. The package learning consist of 5 contents were 1) All around Bongti 2) Our Ethnography 3) The three religions 4) Culture and Traditional 5) Places of Bongti. The package learning through by Historical method local Bongti found that the efficiency criterion of 80.67/82.25. 2.1 achievement test score after using package learning was statistically higher than before using at significantly at the .01 level different. 2.2 student had realized the value of local with package learning though by Historical method. 2.3 the opinion about package learning though by Historical method had average of the attitude to learn in high levels. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและพัฒนาชุดการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 และ 2) ประเมินประสิทธิผลของชุดการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 30 คน ดำเนินการทดลองใช้ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 20 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง แบบแผนการทดลองคือ One Group Pretest-Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดการเรียนรู้เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ 2) แบบทดสอบผลการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนรู้เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ 3) แบบบันทึกการเห็นคุณค่าในท้องถิ่น 4) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อชุดการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย () ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ค่าที (t-test) แบบ Dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analesis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน พบว่านักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญและต้องการให้มีการพัฒนาชุดการเรียนรู้ที่เน้นการแสวงหาความรู้ในท้องถิ่นบ้องตี้ที่นักเรียนอาศัยอยู่เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญ คาดหวังให้นักเรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้และมีกระบวนการในการสร้างองค์ความรู้และเกิดการเห็นคุณค่าในท้องถิ่น 2. ผลการพัฒนาและหาประสิทธิภาพ การพัฒนาชุดการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้ชุดการเรียนรู้ที่ประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้ 1) เรื่องบ้องตี้น่ารู้ 2) เรื่องชาติพันธ์วรรณนา 3) เรื่องสามศาสนาอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 4) เรื่องวัฒนธรรมประเพณี 5) เรื่องสถานที่สำคัญของชุมชน โดยชุดการเรียนรู้มีค่าประสิทธิภาพ 80.67/82.25 2.1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.2. การเห็นคุณค่าในท้องถิ่นด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนเกิดการเห็นคุณค่าในท้องถิ่นของตนเอง 2.3. ความคิดเห็นที่นักเรียนมีต่อชุดการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ชุดการเรียนรู้ | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ | th |
dc.subject | ท้องถิ่นบ้องตี้ | th |
dc.subject | PACKAGE LEARNING | en |
dc.subject | LEARNING MANAGEMENT OF HISTORICAL | en |
dc.subject | METHOD LOCAL | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF PACKAGE LEARNING THOUGH BY HISTORICAL METHOD LOCAL BONGTI FOR THE STUDENTS IN PRATHOMSUKSA 5 | en |
dc.title | การพัฒนาชุดการเรียนรู้ ด้วยการจัดการเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์เรื่อง ท้องถิ่นบ้องตี้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57253309.pdf | 7.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.