Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2239
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThoetsak PETTHONGen
dc.contributorเทิดศักดิ์ เป็ดทองth
dc.contributor.advisorMEECHAI IAMJINDAen
dc.contributor.advisorมีชัย เอี่ยมจินดาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T03:25:06Z-
dc.date.available2019-08-08T03:25:06Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2239-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposeof this experimental research were to 1) To compare the achievement before and after learning Thai grammatical learning on sentences of grade 8 students using RM3S based on constructivism theory. 2) To study students' opinions on Thai grammatical learning on sentences of grade 8 students using RM3S based on constructivism theory. The sample group studies used in this study were 37 of grade 8 student from Thepmongkhonrangsi School Amphoe Mueang Kanchanaburi under The Secondary Education Service Area Office 8. In the second semester of academic year 2017. Derived from simple random sampling. By use the classroom as a random unit. The instrument of this research were 1) Learning sentence management plan using RM3S based on constructivism theory 2) Pre-test and post-test of sentence  3) Student Feedback Questionnaire to study sentence by using RM3S based on constructivism theory. Data were analyzed by using the statistics of mean, standard deviation and t-test Dependent Research finding were as:  1) Achievement on sentences of grade 8 students using RM3S based on constructivism theory. After learning. Were higher more than before that significant in statistic at .05 level. 2) The opinions of grade 8 students for thai grammatical learning on sentence by using RM3S based on constructivism theory were the most agreeable.en
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักภาษาไทย เรื่องประโยค ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนหลักภาษาไทย เรื่องประโยคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทพมงคลรังษี อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 ที่เรียนอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 37 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มอย่างง่าย โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย  1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้เรื่องประโยค 2) แบบทดสอบ ก่อนการทำการทดลอง (pretest) และหลังการทำการทดลอง (posttest) เรื่องประโยค 3) แบบสอบ ถามความคิดเห็น ของนักเรียนที่มีต่อการเรียน เรื่องประโยค ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติทดสอบแบบที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test Dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักภาษาไทย เรื่องประโยค ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบ RM3S  ตามแนวทฤษฎีการสร้างความรู้หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ที่มีต่อการเรียนหลักภาษาไทย เรื่องประโยค ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบ RM3S ตามทฤษฎีการสร้าง ความรู้ โดยภาพรวมทั้งหมดมีระดับความคิดเห็นเห็นด้วยมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectประโยค / RM3S / ทฤษฎีการสร้างความรู้ คอนสตรัคติวิซึมth
dc.subjectSENTENCE / RM3S / CONSTRUCTIVISM THEORYen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleA development of Thai grammatical learning achievement on sentences of Grade 8 Students using RM3S based on Constructivism Theoryen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลักภาษาไทย เรื่องประโยค ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้ แบบ RM3S ตามแนว ทฤษฎีการสร้างความรู้th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57255301.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.