Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorCharuwan SRISAWATen
dc.contributorจารุวรรณ ศรีสวัสดิ์th
dc.contributor.advisorBAMROONG CHAMNANRUAen
dc.contributor.advisorบำรุง ชำนาญเรือth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T03:25:07Z-
dc.date.available2019-08-08T03:25:07Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2244-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) compare the creative writing ability in thai prose of matthayomsueksa 4 students before and after learning by synectics leaning management 2) study the students’ opinions towards leaning by synectics leaning management 3) study of desirable characteristics on cherishing Thai-ness of students towards leaning by synectics leaning management. The sample were 30 matthayomsueksa 4 students of Bankhawittaya School collected by simple random sampling in the second semester of academic year 2017. The research instruments were lesson plans , a creative writing ability test , a questionnaire on students’ opinions and an assessment form of desirable characteristics on cherishing Thai-ness. The data were analyzed by mean (x̄) , standard deviation (S.D.) , t-test for dependent and content analysis. The results of this research were: 1. The creative writing ability of matthayomsueksa 4 students after learning by synectics learning management was significantly higher than before learning by synectics leaning management at the level of .05 2. The students’ overall opinions towards synectics leaning management were at the high level. 3. The evaluation of desirable characteristics on cherishing Thai-ness was generally at the high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังเรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ 3) เพื่อศึกษาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านรักความเป็นไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนบ้านคาวิทยา อำเภอบ้านคา จังหวัดราชบุรี ที่กำลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 30 คน ได้มาด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้การเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นนักเรียนที่มีต่อการเรียนเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์ และ 4) แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านรักความเป็นไทย วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x̄) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบที แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านรักความเป็นไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับดีth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ / การจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์th
dc.subjectCREATIVE WRITING ABILITY IN THAI PROSE / SYNECTICSen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF CREATIVE WRITING ABILITY IN THAI PROSE  OF MATTHAYOMSUEKSA 4 STUDENTS USING SYNECTICS  LEARNING MANAGEMENTen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการเขียนร้อยแก้วเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติกส์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57255310.pdf4.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.