Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2277
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pattraporn TAECHAWANIT | en |
dc.contributor | ภัทราพร เตชวาณิชย์ | th |
dc.contributor.advisor | Somprasong Nuambunlue | en |
dc.contributor.advisor | สมประสงค์ น่วมบุญลือ | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-08-08T06:20:25Z | - |
dc.date.available | 2019-08-08T06:20:25Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2277 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) compare to the pretest-posttest of the study using the Historical Method and Electronic bock of Ancient Thailand state 2) study Matthayomsuksa 4 students abilities in Enhance Historical Concepts 3) study the students' opinions toward taught by using the Historical Method and Electronic Book of Ancient Thailand state. The sample consisted of 42 Matthayomsuksa 4 students of Satri Wat Absornsawan School Bangkok. Conducting research were; 1) assume of historical 2) research and gather evidence 3) analyze and evaluate the value 4) interpret evidence and synthesize data 5) present data in concept map. The instruments used in the study were 1) lesson plan 2) Electronic Book of Ancient Thailand state 3) electronic book rubrics 4) an questionnaire test on Ancient Thailand state and 5) a questionnaire for opinions of student towards using the historical method and electronic book of Ancient Thailand state. The data were analyzed using mean, standard deviation, Developmental testing and t-test for dependent The research findings found that: 1. The learning achievement of Ancient Thailand state after learning by Historical Method and Electronic book were higher than the achievement after of students before learning at the level of .05 significance. 2. The abilities in Enhance Historical Concepts of the Matthayomsuksa 4 students taught by Historical Method and Electronic book were at a high level overall. 3. The opinions of Matthayomsuksa 4 students towards teaching by Historical Method and Electronic book of Ancient Thailand. state were at a high level overall. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เรื่อง รัฐโบราณในดินแดนไทย 2) ศึกษาความคิดเชิงมโนทัศน์ทางประวัติศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการเรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เรื่อง รัฐโบราณในดินแดนไทย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/9 ในโรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ กลุ่มที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวนทั้งสิ้น 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง รัฐโบราณในดินแดนไทย 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง รัฐโบราณในดินแดนไทย 3. แบบประเมินคุณภาพหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) 4. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง รัฐโบราณ ในดินแดนไทย 4. แบบวัดความคิดเชิงมโนทัศน์ทางประวัติศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในรูปแบบแผนผัง มโนทัศน์ 5. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีต่อการเรียนด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าประสิทธิภาพของสื่ออิเล็กทรอนิกส์ E1/E2 = 80/80 และค่า t - test (แบบ Dependent) ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง รัฐโบราณในดินแดนไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 2. ผลการศึกษาความคิดเชิงมโนทัศน์ทางประวัติศาสตร์ เรื่อง รัฐโบราณในดินแดนไทย สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังจากเรียนด้วยวิธีการประวัติศาสตร์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หลังการเรียนอยู่ใน ระดับมาก 3. ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการประวัติศาสตร์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงตามลำดับเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าประเด็นที่นักเรียนเห็นด้วยมากเป็นอันดับที่ 1 คือ ด้านประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้ ลำดับที่ 2 คือ ด้านบรรยากาศในการเรียนรู้ และลำดับที่ 3 คือ ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | วิธีการทางประวัติศาสตร์ | th |
dc.subject | หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ | th |
dc.subject | ความคิดเชิงมโนทัศน์ทางประวัติศาสตร์ | th |
dc.subject | HISTORICAL METHOD | en |
dc.subject | ELECTRONIC BOOK | en |
dc.subject | ANCIENT THAILAND STATE | en |
dc.subject | HISTORICAL CONCEPTS | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE EFFECTS OF TEACHING BY USING THE HISTORICAL METHOD AND ELECTRONIC BOOK OF ANCIENT THAILAND STATE TO ENHANCE HISTORICAL CONCEPTS OF MATHAYOMSUKSA 4 STUDENTS | en |
dc.title | ผลการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง รัฐโบราณในดินแดนไทย เพื่อเสริมสร้างความคิดเชิงมโนทัศน์ทางประวัติศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57262314.pdf | 14.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.