Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhanupon SOMOONen
dc.contributorภาณุพล โสมูลth
dc.contributor.advisorchanasith Sithsungnoenen
dc.contributor.advisorชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนินth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:20:26Z-
dc.date.available2019-08-08T06:20:26Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2285-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThis research was Experimental Research with One Group Pretest Posttest Design by the purposes of this research were to : 1) compare the learning outcomes on self-sufficiency economy of the Mattayomsuksa 3 students before and after the participation in the learning management taught by problem-base learning and infographic 2) develop  ability of creative solving of the Mattayomsuksa 3 after learning 3) develop ability of creativity in infographic of the Mattayomsuksa 3 after learning management 4) study the opinion of the Mattayomsuksa 3 students on learning management of problem-base learning and infographic The sample of this research consisted of 39 Mattayomsuksa 3/3 students studying in the second sementer during the academic year 2018 at The Demonstration School of Silpakorn university Amphoemueang Nakhonpathom, Nakhonpathom The instrument which employed to collect data were: 1)  lesson plans on problem-base learning and infographic 2) a learning outcome test on self-sufficiency economy 3) evaluation on ability of creative solving 4) evaluation on creativity of infographic และ 5) a questionnaire on the opinion of students about participation in the learning management taught by infographic. The collect data was analized by mean (x̄)  standard deviation (S.D.) t-test dependent and Content Analysis The finding were as follows: 1. The learning outcomes of student on self-sufficiency economy gained after learning by problem-base learning and infographic was higher than the learning outcomes gained before the participation learning at the level of .05 significance. 2. Ability on creative solving of the Mattayomsuksa 3 students after learning management by problem-base learning and infographic was at the high level. 3. Ability on creativity of infographic of the Mattayomsuksa 3 after learningManagement by problem-base learning and infographic was at the high level 4.The opinion of the Mattayomsuksa 3 students on this learning management was at the highest levelen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบแผนการวิจัยเป็นแบบหนึ่งกลุ่มสอบก่อนและหลังเรียน (One-Group Pretest - Posttest Design) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ  1) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้เรื่องทางออกแค่พอเพียง  ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ 3) เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างสรรค์สื่ออินโฟกราฟิก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนการจัดการเรียนรู้  และ 4) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3 จำนวน 39 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1)  แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก 2) แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรื่อง ทางออกแค่พอเพียง 3) ประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4) แบบประเมินความสามารถในการสร้างสรรค์สื่ออินโฟกราฟิก และ 5) แบบสอบถามวัดความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x̄) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการเรียนรู้เรื่อง ทางออกแค่พอเพียง หลังการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังจากจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก  อยู่ในระดับสูง 3. ความสามารถในการสร้างสรรค์สื่ออินโฟกราฟิก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังจากจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก  อยู่ในระดับสูง 4.ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่th
dc.subjectความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานth
dc.subjectสื่ออินโฟกราฟิกth
dc.subjectSELF-SUFFICIENCY ECONOMICen
dc.subjectCREATIVE PROBLEM-SOLVING ABILITYen
dc.subjectPROBLEM-BASE LEARNINGen
dc.subjectINFOGRAPHICen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF CREATIVE PROBLEM-SOLVING ABILITY OF NINE GRADE STUDENTS WITH PROBLEM-BASE LEARNING MANAGEMENT IN COMBINATION WITH INFOGRAPHICSen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57263201.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.