Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPissamorn CHU-EMen
dc.contributorพิสมร ชูเอมth
dc.contributor.advisorCHOLTICHA HOMFUNGen
dc.contributor.advisorชลธิชา หอมฟุ้งth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:22:39Z-
dc.date.available2019-08-08T06:22:39Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2319-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to compare the speaking ability of Prathomsueksa 4 students before and after using the Think-Pair-Share technique 2) to investigate the opinions of Prathomsueksa 4 students towards instruction by using the Think-Pair-Share technique. The sample of this research, selected by simple random sampling, were 44 Prathomsueksa 4 students of St. Francis Xavier Convent School in the second semester of the academic year 2018. The research instruments were the lesson plan of speaking ability using Think-Pair-Share technique, the reported speaking ability of Prathomsueksa 4 students, and the questionnaires of Think-Pair-Share technique from Prathomsueksa 4 students. The data were tested through mean (x̄), standard deviation (S.D.) and The paired sample t-test (t–test dependent). The results of this research were as follow: 1.The speaking ability of Prathomsueksa 4 students after using the Think-Pair-Share technique was higher than before at the significant level of .05 2.The opinions of Prathomsueksa 4 students towards instruction by using the Think-Pair-Share technique as a whole were at high agreement level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด 2) เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จำนวน 44 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม ด้วยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดเรื่องการพูด แบบประเมินความสามารถในการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัย พบว่า 1.ความสามารถในการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิด มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 2.ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิดอยู่ในระดับมากth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความสามารถในการพูด / เทคนิคเพื่อนคู่คิดth
dc.subjectSPEAKING ABILITY / THINK-PAIR-SHARE TECHNIQUEen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF SPEAKING ABILITY OF PRATHOMSUEKSA FOUR STUDENTS BY USING THE THINK-PAIR-SHARE TECHNIQUEen
dc.titleการพัฒนาความสามารถในการพูดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการใช้เทคนิคเพื่อนคู่คิดth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58255308.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.