Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2330
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPanida NUEANGCHUMPHONen
dc.contributorภณิดา เนื่องชุมพรth
dc.contributor.advisorSaisuda Tiacharoenen
dc.contributor.advisorสายสุดา เตียเจริญth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:22:41Z-
dc.date.available2019-08-08T06:22:41Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2330-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to determine 1) marketing strategy on graduate program in Educational Administration, Silpakorn University 2) need to study on graduate program in Educational Administration, Silpakorn University and 3) the relationship between marketing strategy and need to study on graduate program in Educational Administration, Silpakorn University. The samples were 148 Master and PhD. Program’s student that enrolled in 2013 to 2016. The instrument was a questionnaire about marketing strategy based on Kotler concept and need to study according to Coombs concept. The statistical analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson's product moment correlation coefficient. The research found that 1) Marketing strategy on graduate program in Educational Administration, Silpakorn University, as a whole were at a high level and each aspect were ranking from the highest to the lowest mean, at a highest level : product, people and at a high level: process, place, physical evidence, promotion and price. 2) Need to study on graduate program in Educational Administration, Silpakorn University, as a whole were at a high level and each aspect were ranking from the highest to the lowest mean, at a highest level : general or basic education, Occupational education and at a high level: Family improvement education and Community improvement education. 3) The relationship between marketing strategy and need to study on graduate program in Educational Administration, Silpakorn University was found at .01 level of statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) กลยุทธ์การตลาดของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร 2) ความต้องการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์การตลาดกับความต้องการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาที่กำลังศึกษา หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร (ปีการศึกษา 2556 – ปีการศึกษา 2559) จำนวนรวม 148 คน  เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับกลยุทธ์การตลาดตามแนวคิดของคอตเลอร์ และ ความต้องการตามแนวคิดของคูมส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า 1) กลยุทธ์การตลาดของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงตามลำดับมัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 2 ด้าน ได้แก่ ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และบุคลากรประจำหลักสูตร และอยู่ในระดับมาก จำนวน 5 ด้าน ได้แก่ การบริหารจัดการหลักสูตร สถานที่ สิ่งอำนวยความสะดวก การประชาสัมพันธ์หลักสูตร และค่าใช้จ่ายในการศึกษา 2) ความต้องการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงตามลำดับมัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อย พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 2 ด้าน ได้แก่ ความต้องการเพิ่มพูนความรู้ และความต้องการการศึกษาเพื่อประกอบหรือพัฒนาอาชีพ และอยู่ในระดับมาก จำนวน 2 ด้าน ได้แก่ ความต้องการการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และความต้องการการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพชุมชน 3) กลยุทธ์การตลาดกับความต้องการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบคล้อยตามกันth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectกลยุทธ์การตลาดth
dc.subjectความต้องการth
dc.subjectMARKETING STRATEGYen
dc.subjectNEEDen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleMARKETING STRATEGY AND NEED TO STUDY ON GRADUATE PROGRAM IN EDUCATIONAL ADMINISTATION, SILPAKORN UNIVERSITYen
dc.titleกลยุทธ์การตลาดกับความต้องการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59252202.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.