Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorYutthapun PHONGPHAIen
dc.contributorยุทธพันธ์ พงษ์ไพรth
dc.contributor.advisorChairat Tosilaen
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ โตศิลาth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2019-08-08T06:22:42Z-
dc.date.available2019-08-08T06:22:42Z-
dc.date.issued12/7/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2342-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to: 1) study the Economics concepts of upper secondary school students after using Inquiry model of Alberta learning management 2) compare Economics concepts of upper secondary school students before and after using Inquiry model of Alberta learning management 3) study the attitude toward economics in Social Studies of upper secondary school students after using Inquiry model of Alberta learning management and 4) compare attitude toward economics In Social Studies of upper secondary school students before and after using Inquiry model of Alberta learning management. The sample of this research consisted of 30 secondary students in the second semester during the academic year 2018 in the Kasetsart University Laboratory School Center for Educational Research and Development, Bangkok Metropolitan Administration. The employed to collect data were: 1) the lesson plan organizing Economics by using Inquiry model of Alberta learning 3 units 2) Economics concepts measurement instrument 3) Attitude toward economics in Social Studies measurement instrument The data was analyzed by arithmetic mean, standard deviation and t-test for dependent   The research findings were summarized as follows: 1. Economics concepts of upper secondary school students after using Inquiry model of Alberta learning management is at a good level. 2. Economics concepts of upper secondary school students after using Inquiry model of Alberta learning management were higher than those before using Inquiry model of Alberta learning management at .01 level of significance. 3. Attitude toward economics in Social Studies of upper secondary school students after using Inquiry model of Alberta learning management is at a high level. 4. Attitude toward economics in Social Studies of upper secondary school students after using Inquiry model of Alberta learning management were higher than those before using Inquiry model of Alberta learning management at .01 level of significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษามโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิง 2) เปรียบเทียบมโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิง 3) ศึกษาเจตคติต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิง และ 4) เปรียบเทียบเจตคติต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายหลังการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิง  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5/2 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561  จำนวน 30 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิง จำนวน 3 หน่วยการเรียนรู้ 2) แบบวัดมโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์ 1 จำนวน 2 ฉบับ เป็นแบบทดสอบคู่ขนาน 3) แบบวัดเจตคติต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษา จำนวน 1 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (dependent t-test)   ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. มโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิงมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับดี 2. มโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิงหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. เจตคติต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิงมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง 4. เจตคติต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิงหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เศรษฐศาสตร์th
dc.subjectรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิงth
dc.subjectมโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์th
dc.subjectเจตคติต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์th
dc.subjectInquiry model of Alberta learningen
dc.subjectEconomics conceptsen
dc.subjectAttitude toward economics In Social Studiesen
dc.subjectLearning management of Economicsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleEffects of learning management using Inquiry model of Alberta learning on Economics concepts and Attitude toward economics In Social Studies of upper secondary school studentsen
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบของอัลเบอร์ตาเลิร์นนิงที่มีต่อมโนทัศน์ทางเศรษฐศาสตร์และเจตคติต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60262308.pdf3.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.