Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2348
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Anongluk KAIKAEW | en |
dc.contributor | อนงค์ลักษณ์ ไก่แก้ว | th |
dc.contributor.advisor | Rutai Jaijongrak | en |
dc.contributor.advisor | ฤทัย ใจจงรัก | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Architecture | en |
dc.date.accessioned | 2020-01-06T05:46:39Z | - |
dc.date.available | 2020-01-06T05:46:39Z | - |
dc.date.issued | 12/7/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2348 | - |
dc.description | Master of Architecture (M.Arch) | en |
dc.description | สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.) | th |
dc.description.abstract | SUNYATA (Emptiness) VIHARA project aims to create the new Thai architecture by using Buddhist philosophy concept in order to compatible with present- day functions. However, it is the great challenge to design the new Thai architecture with this intangible concept as the traditional Thai buildings mostly are unique customarily building styles and forms. Therefore, this study is the experimental design intended to create the new Thai architecture using the Buddhist concept of SUNYATA VIHARA. The process of the study started by reviewing, understanding and analyzing the various visions of SUNYATA together with the perceptions of emptiness. Then, the design step was conducted. Through those processes, it was found that the concepts of Emptiness can be interpreted and designed by using slightly enclosed space in order to cut off the senses of awareness and make concentration. Meanwhile the Thai traditionally patterns and ornaments have to be simplified using the plain colors and materials in order to decrease mental formations through visual perceptions and then quickly access to the Emptiness. Finally, it was found that the rapid ways of introduce people into the Emptiness can be done by creating the architectural space that form the sense of awareness from Being to Non-being through the architectural design processes. | en |
dc.description.abstract | โครงการสุญญตาวิหาร เป็นโครงการที่มุ่งเน้นศึกษาการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมไทยที่มีแนวความคิดด้านพุทธปรัชญา ให้สอดคล้องกับการใช้งานปัจจุบัน แต่เนื่องจากสถาปัตยกรรมไทยมีแบบแผนในการก่อสร้างค่อนข้างตายตัวเนื่องจากมีข้อจำกัดเรื่องรูปด้านของอาคาร งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาความเป็นไปได้ของการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมไทยภายใต้แนวความคิดพุทธปรัชญา เพื่อสร้างการรับรู้และประสบการณ์แก่ผู้ใช้งาน ในลักษณะของการทดลองออกแบบโครงการสุญญตาวิหาร หมายถึงสถานที่แห่งการระลึกถึงสุญญตา หรือความว่าง ซึ่งในการศึกษาครั้งนี้จำเป็นจะต้องทำการทบทวนเอกสาร 2 ข้อหลักคือ 1) สุญญตาในทรรศนะต่างๆ 2) การรับรู้ความว่าง เมื่อทำการศึกษาแล้วพบว่า การออกแบบสถาปัตยกรรมไทยภายใต้แนวความคิดสุญญตา จะต้องสร้างพื้นที่ปิดล้อม (Enclosure space) ที่ค่อยๆ ปิดกั้นประสาทสัมผัสของการรับรู้เพื่อให้เกิดสมาธิ ควบคู่ไปกับการคำนึงถึงองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมไทย นอกจากนี้ต้องคำนึงถึงการลดทอนองค์ประกอบของอาคารให้เรียบเกลี้ยง การใช้สีไม่ฉุดฉาด การเลือกวัสดุผิวเรียบ เพื่อลดการปรุงแต่งของจิตใจเมื่อพบเห็น และสุดท้ายการจะเข้าสู่สุญญตาหรือความว่างได้รวดเร็วที่สุดคือ การสร้างพื้นที่การรับรู้ถึง ความมีอยู่ แล้วค่อยๆ ตัดไปสู่ ความไม่มี ด้วยวิธีการทางสถาปัตยกรรม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | สุญญตา | th |
dc.subject | ความว่าง | th |
dc.subject | สถาปัตยกรรมไทย | th |
dc.subject | การรับรู้ | th |
dc.subject | การมีอยู่ | th |
dc.subject | การไม่มีอยู่ | th |
dc.subject | SUNYATA | en |
dc.subject | Emptiness | en |
dc.subject | Thai Architecture | en |
dc.subject | Perception | en |
dc.subject | Being | en |
dc.subject | Non-being | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | SUNYATA (Emptiness) VIHARA | en |
dc.title | สุญญตาวิหาร | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
57053202.pdf | 7.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.