Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2416
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Prapansak TOUNGSUWAN | en |
dc.contributor | ประพันธ์ศักดิ์ ตวงสุวรรณ | th |
dc.contributor.advisor | SIRINA JITCHARAT | en |
dc.contributor.advisor | ศิริณา จิตต์จรัส | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2020-01-06T05:53:15Z | - |
dc.date.available | 2020-01-06T05:53:15Z | - |
dc.date.issued | 29/11/2019 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2416 | - |
dc.description | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศษ.ด.) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were as follows: 1) To investigate the conditions and needs of creative activities in higher educational students 2) To develop creative activity for higher educational students. This study was done historical qualitative research via research and development method. The instruments used were 400 questionnaires selected from 4 Universities (Chiang Mai University, Khonkaen University, King Mongkut's University of Technology Thonburi and Prince of Songkla University) and 8 interviewees selected from 3 Universities (Prince of Songkla University, Walailak University and Silpakorn University) to collected the conditions and needs of creative activity models for higher educational students. The sample was selected using random Multistage sampling from the University Administrators, Lecturers, Student-Affairs officers and higher educational students. Data has been showed 0.96 of IOC and 0.99 of r-score. Descriptive statistic and content analysis were used. The first creative activity for higher educational students was designed using for 4 students and later developed for the second experimental to 10 students. Data were analyzed and verified by 5 experts connoisseurship. The overview of the result on conditions and needs were at a higher level that followed the consisted needs of contents, methods and processes of the creative activities. The creative activity for higher educational students designed and developed experimental were comprised of 4 units. 1) Introduction to Creativity 2) Frameless Thinking 3) Problem solving and 4) Planning Creative - Based Activities. The efficiency percentage of activity model level was 100/93.43 with post-test scores higher than pretest scores along with a highest level of activities model to enhance creative thinking for higher educational students’ satisfaction. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาสภาพและความต้องการการจัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา วิธีวิจัยแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เครื่องมือ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ เพื่อใช้เก็บข้อมูลสภาพและความต้องการกิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi - stage Random Sampling) ใช้แบบสอบถามจำนวน 400 ชุด จากนักศึกษาระดับอุดมศึกษา 4 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รวมทั้ง การสัมภาษณ์ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนักศึกษา จำนวน 8 คน จาก 3 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และมหาวิทยาลัยศิลปากร ผลการตรวจสอบเครื่องมือมีค่า IOC เท่ากับ 0.96 ได้ค่า r เท่ากับ 0.99 วิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) และการวิเคราะห์ เนื้อหา (Content analysis) และออกแบบรูปแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา แล้วทดลองใช้กับกลุ่มนักศึกษาครั้งที่ 1 จำนวน 4 คน และทดลองใช้ครั้งที่ 2 จำนวน 10 คน ยืนยันรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) 5 คน ผลการวิจัยพบว่า สภาพและความต้องการ การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ นักศึกษาระดับอุดมศึกษา ด้านการบริหารและการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามีความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก ซึ่งความต้องการ การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เนื้อหา วิธีการและแนวทางการจัดกิจกรรมนักศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ผลของการพัฒนารูปแบบกิจกรรมนักศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้แก่ ชุดกิจกรรม Creative Activities: 4 วิธี We can ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ 1) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ความคิดสร้างสรรค์ (Introduction to ความคิดสร้างสรรค์), 2) ความคิดกว้างไกลไม่มีกรอบ (Frameless Thinking), 3) แก้ปัญหา ด้วยความคิดสร้างสรรค์ (Problem - solving) และ 4) วางแผนกิจกรรมโดยใช้ ความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน (Planning Creative - Based Activities) ค่าประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมมีค่า 100/93.43 ผลการทดสอบพบว่า คะแนนหลังกิจกรรมสูงกว่าก่อนกิจกรรม และมีความพึงพอใจต่อรูปแบบ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | รูปแบบกิจกรรม, ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์, นักศึกษาระดับอุดมศึกษา | th |
dc.subject | ACTIVITY MODEL | en |
dc.subject | CREATIVE ENHANCEMENT | en |
dc.subject | HIGHER EDUCATIONAL STUDENTS | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Activities Models to Enhance Creative Thinking for Higher Educational Students | en |
dc.title | รูปแบบกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59251905.pdf | 17.42 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.