Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2428
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiraphob PINITKARNen
dc.contributorสิรภพ พินิจการth
dc.contributor.advisorAungsiri Thippayaromen
dc.contributor.advisorอังก์ศิริ ทิพยารมณ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Scienceen
dc.date.accessioned2020-01-06T05:54:02Z-
dc.date.available2020-01-06T05:54:02Z-
dc.date.issued29/11/2019
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2428-
dc.descriptionMaster of Science (M.Sc.)en
dc.descriptionวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม)th
dc.description.abstractThis study aimed to obtain correction equation for DustTrak II Aerosol Monitor 8530 (TSI Inc., Shore view, MN) which is a real-time particle monitor. DustTrak and filter-based gravimetric method were used to measure PM10 and PM2.5 concentrations in academic building environment. For gravimetric method, the 24-hr average concentration of PM10 and PM2.5 were acquired using a PM10-cyclone (Sensidyne, Petersburg, FL) and Personal Environment Monitor (PEM) with 2.5 microns cut size (SKC Inc., Eighty Four, PA), respectively.  Correction equation was obtained throughout colocation of DustTrak with filter-base samplers. Sampling was conducted 40 days covering weekday and weekend. The results indicated that DustTrak had substantial bias compared with gravimetric method. It was found to show PM10 and PM2.5 concentration on average 2.6 (n=40) and 3.4 times, respectively, higher than gravimetric method. When the correction equations were applied, the correlation coefficients (r) between the two methods were increased from 0.803 to 0.959 for PM10 and from 0.590 to 0.919 for PM2.5. It is obvious that correlation equations can satisfactorily reduce biases of DustTrak 8530 monitoring results in academic building environment. en
dc.description.abstractการศึกษามีจุดมุ่งหมายเพื่อหาสมการปรับแก้สำหรับเครื่อง DustTrak II Aerosol Monitor 8530 (TSI Inc., Shore view, MN) ซึ่งเป็นเครื่องมือตรวจวัดฝุ่นละอองแบบเรียลไทม์ การตรวจวัดความเข้มข้นของ PM10 และ PM2.5 ใช้เครื่อง DustTrak และเครื่องมือที่ใช้กระดาษกรองสำหรับวิธีเชิงน้ำหนัก โดยทำการตรวจวัดภายในสิ่งแวดล้อมที่เป็นสถานศึกษา สำหรับวิธีเชิงน้ำหนักนั้น การตรวจวัดความเข้มข้นของ PM10 และ PM2.5 ใช้ไซโคลนสำหรับ PM10 (Sensidyne, Petersburg, FL) และเครื่อง Personal Environment Monitor (PEM) ซึ่งคัดเฉพาสำหรับฝุ่นขนาด 2.5 ไมครอน (SKC Inc., Eighty Four, PA) ตามลำดับ สมการปรับแก้หาได้จากการตั้งเครื่อง DustTrak และเครื่องมือที่ใช้กระดาษกรองในสถานที่และเวลาเดียวกัน การตรวจวัดกระทำทั้งหมด 40 วัน โดยครอบคลุมทั้งวันธรรมดาและวันหยุด ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า เครื่อง DustTrak มีความเอนเอียงอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีเชิงน้ำหนัก เครื่อง DustTrak แสดงค่าความเข้มข้นเฉลี่ยของ ของ PM10 และ PM2.5 สูงกว่าวิธีเชิงน้ำหนัก 2.6 (n=40) และ 3.4 (n=40) เท่า ตามลำดับ เมื่อนำสมการปรับแก้มาใช้ พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ระหว่างทั้งสองวิธีเพิ่มขึ้นจาก 0.803 เป็น 0.959 สำหรับ PM10 และจาก 0.590 เป็น 0.919 สำหรับ PM2.5 ซึ่งเห็นได้ชัดเจนว่า สมการปรับแก้สามารถลดความเอนเอียงของผลการตรวจวัดด้วยเครื่อง DustTrak 8530 ได้อย่างเป็นที่น่าพอใจในสิ่งแวดล้อมที่เป็นสถานศึกษา th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสมการถดถอยของ OLSth
dc.subjectการตรวจวัดฝุ่นละอองth
dc.subjectวิธีเชิงน้ำหนักth
dc.subjectเครื่องมือตรวจวัดแบบเรียลไทม์th
dc.subjectDustTrak 8530th
dc.subjectReal-Time Monitoren
dc.subjectOLS Linear Regressionen
dc.subjectParticle Monitoringen
dc.subjectGravimetric Methoden
dc.subjectDustTrak 8530en
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.titleCorrection equations for real-time dust monitor for educational environmenten
dc.titleสมการปรับแก้สำหรับเครื่องมือตรวจวัดฝุ่นแบบเรียลไทม์ภายในสิ่งแวดล้อมสถานศึกษา th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59311304.pdf3.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.