Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2500
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChindanai MAIKETen
dc.contributorชินดนัย ไม้เกตุth
dc.contributor.advisorPinai Sirikiatikulen
dc.contributor.advisorพินัย สิริเกียรติกุลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2020-08-04T03:38:35Z-
dc.date.available2020-08-04T03:38:35Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2500-
dc.descriptionMaster of Arts (M.A.)en
dc.descriptionศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)th
dc.description.abstractThis thesis adopts the concept of internal colonisation. While the concept has been used productively elsewhere, especially in Siam's peripheral monthons, it has never been used for Monthon Ayutthaya. This study was of Monthon Ayutthaya between 1895 when Thesaphiban reforms started, and 1933 when they were declined. The main features of this period were the restoration of Chankasem Palace as it was converted into an administration office, the collection of rice tax and the introduction of title deeds for the first time. In this period, Monthon Thesaphiban reforms extended into many aspects of Ayutthaya's development, especially the protection of historic sites and the introduction of sanitary districts. The argument put forward in this thesis is that although the reforms helped to create better living conditions for the population, their performance can be interpreted through internal-colonial discourse. After all, Monthon Ayutthaya's development was part of Chulalongkorn's centralisation processes, to help facilitate a comfortable continuation of the past with the present, creating an imagined nation associated with its ancestry. The thesis also suggests that this framework still has, until today, affected the city's development through the implementation of various Development Plans.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ประยุกต์ใช้แนวคิดการสร้างอาณานิคมภายใน แม้แนวคิดดังกล่าวนี้จะสามารถนำไปใช้กับการศึกษาการปฏิรูปมณฑลเทศาภิบาลของไทยในหลายพื้นที่ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะในพื้นที่มณฑลชายขอบของรัฐสยาม แต่ยังไม่เคยมีงานศึกษาใดที่ใช้แนวคิดนี้ในการพิจารณาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับมณฑลกรุงเก่ามาก่อน  วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาการพัฒนามณฑลกรุงเก่าระหว่าง พ.ศ. 2438 อันเป็นปีแรกที่การจัดตั้งมณฑลกรุงเก่าขึ้นอย่างเป็นทางการ จนถึงพ.ศ. 2476 เมื่อมณฑลกรุงเก่าถูกยุบเลิก  ในช่วงเวลาแห่งการปกครองด้วยระบบเทศาภิบาลมณฑลนี้รัฐบาลสยามได้เข้ามาสร้างความเปลี่ยนแปลงหลายประการ เช่น การเข้ามาปรับปรุงอาคารเดิมของพระราชวังจันทร์เกษมเพื่อใช้เป็นทำการมณฑลเทศาภิบาล การจัดเก็บภาษีนา และการออกโฉนดที่ดินที่มณฑลกรุงเก่าเป็นครั้งแรก รวมทั้งได้ขยายการพัฒนาครอบคลุมในหลายมิติ ที่สำคัญคือการกำหนดพื้นที่เขตอนุรักษ์โบราณสถาน และการกำหนดเขตเขตสุขาภิบาล เหล่านี้ล้วนเป็นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่อยู่ในขอบเขตของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ โดยการศึกษาเสนอว่าแม้กระบวนการขับเคลื่อนจากส่วนกลางดังกล่าวจะสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาเพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของชาวเมือง แต่ก็สามารถตีความได้เช่นกันว่าเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างอาณานิคมภายในของรัฐบาลสยาม เพราะการปฏิรูปในมณฑลกรุงเก่าโดยแท้จริงนั้น เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการรวมศูนย์อำนาจเข้ามาไว้ที่พระมหากษัตริย์ โดยมณฑลกรุงเก่าถูกกำหนดทิศทางการพัฒนาให้เป็นดั่งอยุธยาตามจินตนาการของชนชั้นปกครองสยาม  การศึกษานี้ได้ยังแสดงให้เห็นว่ากรอบของการพัฒนาในทิศทางนี้ยังคงส่งผลต่อการพัฒนาเมืองผ่านแผนพัฒนาฉบับต่าง ๆ ตั้งแต่อดีตจนปัจจุบันth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectอาณานิคมภายในth
dc.subjectการปฏิรูปมณฑลเทศาภิบาลth
dc.subjectInternal Coloniesen
dc.subjectMonthon Thesapiban Reformsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe Architecture in Ayutthaya during Monthon Thesaphiban Reforms (1895 - 1933 AD.)en
dc.titleสถาปัตยกรรมบนเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาช่วงสมัยมณฑลกรุงเก่าปี พ.ศ. 2438 – 2476th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58052204.pdf8.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.