Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuratwadee BURAPHONGBANDITen
dc.contributorสุรัชวดี บุรพงศ์บัณฑิตth
dc.contributor.advisorPathamaphorn Praphitphongwaniten
dc.contributor.advisorปฐมาภรณ์ ประพิศพงศ์วานิชth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Decorative Artsen
dc.date.accessioned2020-08-05T04:00:02Z-
dc.date.available2020-08-05T04:00:02Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2567-
dc.descriptionMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.descriptionศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.)th
dc.description.abstractViolence against women is a global phenomenon making negative impacts on individual victims and the whole society. An important approach to eliminate the problem is to campaign, increase public knowledge, raise awareness, and change wrong attitudes causing the problem. Nowadays, several campaigns against women abuse are conducted but the violence statistics remain not decrease. Besides, these campaigns can be considered as a violence reproduction and some cases lead to imitation behavior. This project uses literature review, examining worldwide social campaign and observing in the related campaigns to design, sketch, create models, and produces jewelry for violence against women campaign. This study reveals that #LOVEMEHURTSME, interpreting and combining symbols of love and violence into jewelry, is very suitable, communicable, possible, and approachable design. To produce the series of jewelry, nine materials including silver, diamond, platinum, plastic, UV resin, glass, brass, iron and mirror are used here.en
dc.description.abstractความรุนแรงต่อผู้หญิงเป็นปรากฏการณ์ระดับโลก ส่งผลกระทบในระดับปัจเจกบุคคลและระดับสังคมชุมชนโดยรวม แนวทางสำคัญในการบรรเทาปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงคือ การรณรงค์เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในการยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง รวมถึงการปรับเปลี่ยนทัศนคติผิดๆ อันเป็นสาเหตุของความรุนแรง  ปัจจุบันแม้จะมีการรณรงค์ในวงกว้าง แต่ยังไม่สามารถลดสถิติของการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงได้ อีกทั้งส่วนใหญ่ยังเป็นการผลิตซ้ำการใช้ความรุนแรงจนนำไปสู่พฤติกรรมการลอกเลียนแบบ งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ในการออกแบบและผลิตเครื่องประดับเพื่อรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง โดยใช้วิธีการศึกษาทบทวนวรรณกรรมและโครงการรณรงค์ทางสังคมทั่วโลก รวมถึงการเข้าร่วมสังเกตการณ์กิจกรรมการรณรงค์เพื่อยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง  จากนั้นเป็นการวิเคราะห์แนวทางการออกแบบ ทดลองวัสดุ เขียนแบบร่าง 2 มิติ  3 มิติ สร้างต้นแบบ เพื่อนำไปผลิตผลงานเครื่องประดับชิ้นสมบูรณ์ ผลการศึกษาพบว่า แนวทางการออกแบบ #LOVEMEHURTSME ที่แปรค่าสัญลักษณ์ของความรักและความรุนแรงแล้วผสมผสานกันลงในชิ้นงานเครื่องประดับ  เป็นแนวทางที่มีความเหมาะสม สามารถสะท้อนปัญหาและเข้าถึงคนในสังคมได้ อีกทั้งยังมีความเป็นไปได้ในการผลิต โดยเลือกใช้วัสดุ 9 ชนิด ได้แก่ เงิน เพชร ทองคำขาว พลาสติก แก้ว ยูวีเรซิ่น ทองเหลือง เหล็ก กระจกเงาth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleJEWELRY FOR SOCIAL CAMPAIGN:  A CASE STUDY OF JEWELRY FOR SOCIAL CAMPAIGN TO END  VIOLENCE AGAINST WOMENen
dc.titleเครื่องประดับเพื่อการรณรงค์ทางสังคม : กรณีศึกษาการออกแบบและผลิตเครื่องประดับสำหรับรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อผู้หญิงth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58157306.pdf9.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.