Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSasiphorn CHAIPRASERTen
dc.contributorศศิภรณ์ ไชยประเสริฐth
dc.contributor.advisorTreechada Chotiratanapinunen
dc.contributor.advisorตรีชฎา โชติรัตนาภินันท์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Decorative Artsen
dc.date.accessioned2020-08-05T04:00:03Z-
dc.date.available2020-08-05T04:00:03Z-
dc.date.issued12/6/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2572-
dc.descriptionMaster of Fine Arts (M.F.A.)en
dc.descriptionศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.)th
dc.description.abstractThe research aims to 1) study the identity of ancient Bang Fai as a guide to design home décor for western tourists, 2) survey the demand and preference of western tourists for cultural style home décor, 3) design home décor product by using Bang Fai craftmanship from the locals in Yasothon province, and 4) evaluate product satisfaction from product experts. The research process started with data collection via purposive sampling techniques with three Bang Fai experts in Yasothon Province. In-depth interviews were conducted with these experts and the interview data were analyzed by content analysis and the links to the review of the literature. Then, further data were gathered by using purposive sampling techniques with one hundred western tourists in Bangkok interested in Thai culture and purchasing home decorative items. Simple random sampling was used to draw fifty out of one hundred tourists for collecting behavioural data in actual settings. The research tools include a questionnaire and non-participatory observation. The data from the questionnaire were analyzed by quantitative techniques, using especially statistical techniques such as frequency and percentage. Data from observation were analyzed by qualitative techniques such as content analysis, finding relations among data, data interpretation and summarizing, which later led to the formation of a set of design guidelines. Later, three experts with experience in product design were selected using purposive sampling techniques and invited for surveys. The surveys used rating scales with open-ended questions. Data from the surveys were analyzed by statistical techniques, averages and standard deviations combining with results from open-ended questions to evaluate satisfaction and convert to the descriptive results. The result shows that the design satisfied the experts the most to the least include: 1) SAKKARA, total average scores 4.04, ranked highest for its Bang Fai identity, 2) SUMALEE, total average scores 4.00, well ranked for its size and weight, as well as its marketability, 3) SWANGJIT, total average scores 3.83, with size and weight as its notable factor, and 4) YADTIP rated the least satisfied, with total average scores 3.67. For detailed analysis of each product, average and standard deviation of each aspects must be used in conjunction with total average scores.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาอัตลักษณ์ในงานทำบั้งไฟโบราณเพื่อนำไปใช้เป็นแนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้านสำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติตะวันตก 2) เพื่อสำรวจความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติตะวันตกกับผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้านเชิงวัฒนธรรม 3) เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้านโดยใช้ทักษะของช่างทำบั้งไฟในชุมชน จังหวัดยโสธร และ 4) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญกับผลิตภัณฑ์ โดยมีลำดับขั้นตอนการดำเนินการวิจัย ตามวัตถุประสงค์  ดังนี้ 1) เก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กับผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับบั้งไฟโบราณในจังหวัดยโสธร จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และการหาความเชื่อมโยงกับเอกสารในวรรณกรรม 2) เก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) กับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติตะวันตก ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและมีความสนใจในการซื้อของตกแต่งบ้าน จำนวน 100 คน โดยจะสุ่มกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติตะวันตกจำนวน 100 คน ออกมา 50 คน) โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (simple random sampling) เพื่อต้องการข้อมูลด้านพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายในสถานการณ์จริง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ ในเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) และแบบสังเกตมาวิเคราะห์ในเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) หาความเชื่อมโยงและการตีความเพื่อนำมาแปรผลโดยการบรรยายสรุปเป็นประเด็นของแนวทางการออกแบบ 3) การออกแบบผลิตภัณฑ์จะใช้ข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่างในหัวข้อที่ 1 และ2 โดยจะนำข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และสรุปเป็นประเด็นสำคัญ เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ 4) ใช้วิธีการการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กับผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ จำนวน  3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ร่วมกับคำถามแบบปลายเปิด โดยการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงมาตรฐาน เพื่อประเมินความพึงพอใจร่วมกับคำถามปลายเปิด แล้วจึงนำมาแปรผลโดยการบรรยาย ผลการวิจัยพบว่า ผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้าน ที่กลุ่มผู้เชี่ยวชาญมีความพึงพอใจมากที่สุด ตามลำดับ คือ 1. ผลิตภัณฑ์ SAKKARA ค่าเฉลี่ยคะแนนรวม เท่ากับ 4.04 (โดยค่าสูงสุดด้านอัตลักษณ์บั้งไฟและขนาดและน้ำหนักที่เหมาะสม) 2. ผลิตภัณฑ์ SUMALEE ค่าเฉลี่ยคะแนนรวม เท่ากับ 4.00 (โดยค่าสูงสุดด้านขนาดและน้ำหนักที่เหมาะสมและความเป็นไปได้ของการตลาด ซึ่งในด้านการสะท้อนอัตลักษณ์ในระดับปานกลาง), 3. ผลิตภัณฑ์ SWANGJIT ค่าเฉลี่ยคะแนนรวม เท่ากับ 3.83 (โดยค่าสูงสุดด้านขนาดและน้ำหนักที่เหมาะสม) และ 4. ผลิตภัณฑ์ YADTIP ค่าเฉลี่ยคะแนนรวม เท่ากับ 3.67 (ค่าโดยรวมมีความใกล้เคียงกัน แต่ค่าน้อยที่สุดอยู่ในด้านของการสะท้อนอัตลักษณ์และขนาดและน้ำหนักที่เหมาะสม) โดยทั้งนี้เพื่อความชัดเจนของการวิเคราะห์ในแต่ละชิ้นงาน ต้องดูข้อมูลค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงมาตรฐานในแต่ละด้านประกอบด้วยth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectอัตลักษณ์th
dc.subjectบั้งไฟโบราณth
dc.subjectผลิตภัณฑ์เชิงวัฒนธรรมth
dc.subjectIdentityen
dc.subjectAncient “Bang Fai”en
dc.subjectCultural Productsen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleThe study of ancient “Bang Fai” rocket and application of its design identity for home decoration products aiming at western tourists in Bangkok: Case study of the rocket craftsmakers in Ban Sing Tha, Yasothon Provinceen
dc.titleโครงการศึกษาอัตลักษณ์บั้งไฟโบราณเพื่อการออกแบบของตกแต่งบ้าน สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติตะวันตกในจังหวัดกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา กลุ่มช่างทำบั้งไฟ บ้านสิงห์ท่า จังหวัดยโสธรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60155201.pdf15.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.