Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2603
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChaiwat CHUEAMANGen
dc.contributorชัยวัฒน์ เชื้อมั่งth
dc.contributor.advisorMattana Wangthanomsaken
dc.contributor.advisorมัทนา วังถนอมศักดิ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:55:46Z-
dc.date.available2020-08-14T02:55:46Z-
dc.date.issued12/6/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2603-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to identify the management of science school for scientists and researchers using Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) technique collecting data from 19 experts, consisting of the science school directors, the dean of the science faculty and the science policy makers. The instruments used in the 1st round of EDFR were semi-structured interviews and the 2nd round of EDFR were the questionnaires. The statistics used in this research were median, mode and interquartile range and content analysis. The findings of this study were as follows: The management of science school for scientists and researchers comprised 7 aspects with 100 items; including 1) government’s policy supervision (10 items), 2) curriculum development for creating scientists and researchers (9 items), 3) teacher’s and personnel’s development (14 items), 4) student’s emotional, social and scientific attitude development (33 items), 5) administrative and instructional technology (14 items), 6) goal setting and coordinating (14 items), and 7) standardized quality assurance (6 items).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบการบริหารจัดการโรงเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อ สร้างนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย ด้วยเทคนิคการวิจัยเชิงอนาคต ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียนวิทยาศาสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และผู้กำหนด นโยบายด้านวิทยาศาสตร์ของประเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการทำ EDFR รอบที่ 1 เป็นแบบสัมภาษณ์ กึ่งโครงสร้างและ EDFR รอบที่ 2 ใช้แบบสอบถามความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการโรงเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย มี 7 ด้าน จำนวน 100 ตัวแปร ได้แก่ 1) ด้านการกำกับนโยบายโดยภาครัฐบาล 10 ตัวแปร 2) ด้านการพัฒนาหลักสูตรเพื่อสร้างนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัย จำนวน 9 ตัวแปร 3) ด้านการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง จำนวน 14 ตัวแปร 4) ด้านการพัฒนาทางอารมณ์ สังคมและ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน จำนวน 33 ตัวแปร  5) ด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหาร และการจัดการเรียนรู้ จำนวน 14 ตัวแปร  6) ด้านการกำหนดเป้าหมายและการประสานงาน จำนวน 14 ตัวแปร และ 7) ด้านการประกันคุณภาพที่มีมาตรฐาน จำนวน 6 ตัวแปรth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการบริหารจัดการโรงเรียนวิทยาศาสตร์th
dc.subjectMANAGEMENT OF SCIENCE SCHOOLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleMANAGEMENT OF SCIENCE SCHOOL FOR SCIENTISTS AND RESEARCHERSen
dc.titleการบริหารจัดการโรงเรียนวิทยาศาสตร์เพื่อสร้างนักวิทยาศาสตร์และนักวิจัยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57252903.pdf3.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.