Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPattranit SONGPRACHAen
dc.contributorภัทรานิษฐ สงประชาth
dc.contributor.advisorPattarapol Mahakanen
dc.contributor.advisorภัทรพล มหาขันธ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:55:50Z-
dc.date.available2020-08-14T02:55:50Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2623-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study 6 aspects of the environment supporting students learning in school for the deaf, including: 1) building 2) curriculum 3) learning and teaching 4) services for students 5) activities for students and 6) peer relationships, and to compare the environment management according to the perception of teachers and students. This research used a mixed-method design. Quantitative data were collected through questionnaires from 381 teachers and students in the school for the deaf in the 2018 academic year. Qualitative data were collected through in-depth interviews from 7 key informants. The statistical analysis were mean, standard deviation,  t-test. and content analysis The research results were: 1. The environment supporting students learning in school for the deaf, showed the most of teachers and their students are female. They are working and studying in the school for the deaf between 0-5 years. 2. The environment supporting students learning in school for the deaf, according to the satisfaction with the overall of teacher’s perception in the high level. And the activities for students have the highest mean scores. As for the peer relationships with the lowest level of awareness. 3.The environment supporting students learning in school for the deaf, according to the satisfaction with the overall of student’s perception in the high level. And the activities for students have the highest mean scores. As for the peer relationships with the lowest level of awareness. 4.The environment supporting students learning in school for the deaf, the teachers and their students have perceived levels of environmental aspects which were not different in significant level of perception of teachers and students at the .05 level. When considering each aspect, it was found that the peer relationships there was a different statistically significant level of perception of teachers and students at the .05 level.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษา 6 ด้าน คือ 1) ด้านอาคารสถานที่ 2) ด้านหลักสูตร 3) ด้านการเรียนการสอน 4) ด้านการให้บริการผู้เรียน 5) ด้านการจัดกิจกรรมผู้เรียน และ 6) ด้านสังคมกลุ่มเพื่อน และเปรียบเทียบระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมของครูและนักเรียน ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานที่ได้บูรณาการวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยคุณภาพเข้าด้วยกัน โดยใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลจากครูและนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษา ปีการศึกษา 2561 จำนวน 381 คน และใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 7 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ข้อมูลทั่วไปครูและนักเรียนที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงและระยะเวลาที่ปฏิบัติงานหรือศึกษาอยู่ในโรงเรียนโสตศึกษาส่วนใหญ่อยู่ที่ 0-5 ปี  2. ระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษาของครูโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพแวดล้อมด้านกิจกรรมผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยของระดับการรับรู้มากที่สุด ส่วนด้านสังคมกลุ่มเพื่อนมีค่าเฉลี่ยของระดับการรับรู้น้อยที่สุด  3. ระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษาของนักเรียนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และสภาพแวดล้อมด้านกิจกรรมผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยของระดับการรับรู้มากที่สุด ส่วนด้านสังคมกลุ่มเพื่อนมีค่าเฉลี่ยของระดับการรับรู้น้อยที่สุด  4. การเปรียบเทียบระดับการรับรู้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษาของครูและนักเรียนโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า สภาพแวดล้อมด้านสังคมกลุ่มเพื่อนมีระดับการรับรู้ของครูและนักเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้th
dc.subjectโรงเรียนโสตศึกษาth
dc.subjectนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยินth
dc.subjectEnvironment supportsen
dc.subjectDeaf studentsen
dc.subjectSchool for the deafen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE ENVIRONMENT SUPPORTTING STUDENTS LEARNING IN SCHOOL FOR THE DEAFen
dc.titleสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนในโรงเรียนโสตศึกษาth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58251202.pdf5.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.